FAQ

FAQ2020-02-24T03:10:29+00:00

FAQ

Changing Visa2020-02-24T06:54:09+00:00
(อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้)

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)

2.สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)

3.รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป

4.ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท

5.หนังสือชี้แจงเหตุผลความจำเป็นการจ้างงานคนต่างด้าว และขอความร่วมมือในการขอรับ หรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (มีชื่อ, ตำแหน่ง, ความรู้ความสามารถและขอเปลี่ยน วีซ่าจาก ผ.30 หรือ TR เป็น NON-B) (เรื่อง ขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา/เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)

6.หนังสือรับรองการจ้าง (ตามแบบของกรมการจัดหางาน)

7.สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (แสดงฉบับจริง)

8.สำเนาใบสำคัญการจดทะเบียนนิติบุคคล (แสดงฉบับจริง)

9.สำเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (ภพ.01 + หนังสือบริคณห์สนธิการเพิ่มทุน) (แสดงฉบับจริง)

10.สำเนางบดุลบัญชีกำไรขาดทุนปีล่าสุด รับรองจากกระทรวงพาณิชย์ หรือกรมสรรพากร (กรณียื่นฉบับสำเนาต้องให้กรรมการลงนามและประทับตราบริษัท/หจก. ทุกฉบับ)

11.สำเนารายการภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50) รับรองจากกระทรวงพาณิชย์หรือกรมสรรพากร (กรณียื่นฉบับสำเนาต้องให้กรรมการลงนามและประทับตราบริษัท/หจก. ทุกฉบับ)

12.สำเนาหลักฐานการศึกษาและหลักฐานการผ่านงานของคนต่างด้าว ผ่านการรับรองจากสถานทูตและ กองนิติกรณ์ กระทรวงการต่างประเทศ
(0-2575-1056-9)

13.สำเนารายการภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดาของพนักงานคนไทย (ภ.ง.ด.1)(ย้อนหลัง 3 เดือน พร้อมแนบรายชื่อพนักงานคนไทยทั้งหมด)

14.หนังสือขอความร่วมมือจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, การนิคมอุตสาหกรรมหรือการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (กรณีได้รับการส่งเสริม BOI)

15.แสดงรูปภาพของบริษัทถ่ายให้เห็นอาคาร ป้ายชื่อบริษัท สภาพการทำงานที่มีพนักงานกำลังปฏิบัติงาน, โต๊ะทำงานภายในบริษัท หรือ อาคาร หรือโกดัง ซึ่งแสดงให้เห็นลักษณะงาน 6 – 7 ภาพ

16.หากใน ภ.ง.ด.50 (หน้า 5 บรรทัดที่3 ) ไม่มีค่าน้ำ ค่าไฟ ให้แสดงสัญญาเช่า บิลน้ำมัน ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์

17.แผนที่บริษัท

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. เอกสารของบริษัทฯ หรือห้างฯ กรรมการผู้มีอำนาจตามหนังสือรับรองการจดทะเบียน หรือ หุ้นส่วนผู้จัดการลงนามรับรองทุกหน้าทุกแผ่นแล้วประทับตราบริษัทฯ หรือห้างฯ เป็นสำคัญ
3. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบและยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
4. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร. 0-2141-9902-3
อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. หนังสือจากส่วนราชการระดับกรมเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (เรียน ผูับัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6. หนังสือจากมูลนิธิขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (เรียน ผูับัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
7. ใบอนุญาตจัดตั้งมูลนิธิ
8. สำเนารายงานการประชุมมูลนิธิ

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบและ ยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3
อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. – หลักฐานการเป็นบิดา มารดา บุตร หรือสูติบัตร (รับรองจากสถานทูตของคนต่างด้าวในประเทศไทย และ กองนิติกรณ์ (02-5751056-9) กระทรวงการต่างประเทศ) หรือ
– หนังสือรับรองจากส่วนราชการสถานทูต หรือสถานกงสุล แสดงว่าเป็นส่วนแห่งครัวเรือน หนังสือรับรองจาก กรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ
6. หนังสือรับรองยอดเงินฝากจากธนาคารในประเทศไทย พร้อมสำเนาบัญชีเงินฝากประจำ หรือ ออมทรัพย์ไม่น้อยกว่า 500,000 บาท พร้อมหลักฐานการโอนเงินเข้ามาจากต่างประเทศ
7. หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจ ลงตราจากครูใหญ่ หรือผู้จัดการหรือผู้อำนวยการ ว่าบุตรกำลังศึกษาอยู่ (โปรดระบุชื่อทั้งผู้ยื่นคำร้องและผู้ให้ติดตามด้วย)
8. หนังสือเดินทางของบุตร (สำเนาหน้าที่มีประวัติข้อมูล , ตราประทับอนุญาตครั้งล่าสุด , บัตร ตม.6)

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3
(อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้)

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist Visa และ Transit Visa) หรือ แบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา(แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ ผผ.90 เฉพาะคนต่างงด้าวที่ไม่มีวีซ่า)

2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)

3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป

4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท

5. ระดับอุดมศึกษาหรือระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาในสถานบันของรัฐ
5.1 หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากอธิการบดีในสถาบันอุดมศึกษา (เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
5.2 หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากส่วนราชการระดับกรมในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือผู้ว่าราชการจังหวัดในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาหรือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
5.3 สำเนาคุณวุฒิการศึกษาของผู้ยื่นคำขอ (พร้อมสำเนาใบเสร็จค่าเทอมล่าสุด)

6.ระดับอุดมศึกษาและต่ำกว่าอุดมศึกษาในสถาบันของเอกชน
6.1  หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากอธิการบดีในสถาบันอุดมศึกษา (เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6.2  หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากส่วนราชการระดับกรมในสังกัด  กระทรวงศึกษาธิการหรือผู้ว่าราชการจังหวัดในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา หรือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6.3 หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากครูใหญ่ หรือผู้จัดการ (นานาชาติ)
6.4 สำเนาใบอนุญาตให้จัดตั้งสถานศึกษา (พร้อมรับรองสำเนา)
6.5 สำเนาใบอนุญาตให้เป็นผู้บริหารของสถานศึกษา (พร้อมรับรองสำเนา)
6.6 สำเนาคุณวุฒิการศึกษาของผู้ยื่นคำขอ

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. เอกสารของสถาบันมหาวิทยาลัย , โรงเรียนเอกชน ให้ผู้มีอำนาจในการรับรองลงนามรับรองทุกหน้าทุกแผ่นแล้วประทับตราเป็นสำคัญ
3. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
4. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร. 0 2141 9902-3
ต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน อนุญาตไม่เกิน 90 วัน

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. หลักฐานการโอนเงินเข้าสู่ประเทศไทยไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท
6. มีหลักฐานการลงทุนโดยการซื้อ หรือเช่า (ระยะเวลาไม่น้อยกว่า3 ปี) ห้องชุดในอาคารชุดในอาคารชุดจากหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในราคาซื้อหรือเช่าไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท หรือ
7. มีหลักฐานการลงทุนโดยการฝากเงินประจำกับธนาคารที่จดทะเบียนในประเทศไทย ซึ่งมีผู้ถือหุ้นเป็นคนสัญชาติไทยเกินกว่าร้อยละ 50 ไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท หรือ
8. มีหลักฐานการลงทุนโดยการซื้อพันธบัตรของทางราชการหรือของรัฐวิสาหกิจไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท หรือ
9. มีหลักฐานการลงทุนรวมกันตาม (6),(7) หรือ (8) ไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสาร เพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร. 0-2141-9902-3
อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist Visa และ Transit Visa) หรือ แบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา(แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ ผผ.90 เฉพาะคนต่างงด้าวที่ไม่มีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. สำเนาหนังสือเดินทาง และสำเนาใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าวที่ผู้ยื่นคำขอต้องการมาพำนักอยู่ด้วย
6. หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลพร้อมวัตถุประสงค์
7. ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
8. บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
9. สำเนาหลักฐานการเป็นบิดา มารดา บุตร ใบสำคัญการสมรส หรือสูติบัตร (รับรองจากสถานทูตของคนต่างด้าวในประเทศไทย และ กองนิติกรณ์ (02-5751056-9) กระทรวงการต่างประเทศ)
หรือ หนังสือรับรองจากส่วนราชการสถานทูต หรือสถานกงสุล แสดงว่าเป็นส่วนแห่งครัวเรือน หนังสือรับรองจาก กรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ
10. สำเนารายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของพนักงานคนไทย (ภ.ง.ด.1)  ย้อนหลัง 3 เดือน พร้อมแนบรายชื่อทั้งหมดของพนักงานคนไทย
11. สำเนารายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของคนต่างด้าว (ภ.ง.ด.91) ปีล่าสุด

หมายเหตุ
  1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
  2. เอกสารของบริษัทฯ หรือห้างฯ กรรมการผู้มีอำนาจตามหนังสือรับรองการจดทะเบียน หรือ หุ้นส่วนผู้จัดการลงนามรับรอง ทุกหน้าทุกแผ่น แล้วประทับตราบริษัทฯ หรือห้างฯ เป็นสำคัญ
  3. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริง   ทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
  4. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141 9902-3
อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist Visa และ Transit Visa) หรือ แบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา(แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ ผผ.90 เฉพาะคนต่างงด้าวที่ไม่มีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. สำเนาหนังสือเดินทาง และใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าวที่ผู้ยื่นคำขอต้องการมาพำนักอยู่ด้วย
6. สำเนาใบอนุญาตให้จัดตั้งสถานศึกษา (พร้อมรับรองสำเนา)
7. สำเนาใบอนุญาตให้เป็นผู้บริหารสถานศึกษา (พร้อมรับรองสำเนา)
8. หนังสือรับรองการทำงานจากโรงเรียน (โปรดระบุชื่อทั้งผู้ยื่นคำขอและผู้ให้ติดตามด้วย)
9. สำเนาหลักฐานการเป็นบิดา มารดา บุตร ใบสำคัญการสมรส หรือสูติบัตร (รับรองจากสถานทูตของคนต่างด้าวในประเทศไทย และ กองนิติกรณ์ (02-5751056-9) กระทรวงการต่างประเทศ) หรือหนังสือรับรองจากส่วนราชการสถานทูต หรือสถานกงสุล แสดงว่าเป็นส่วนแห่งครัวเรือน หนังสือรับรองจากกรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ
10. สำเนารายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของพนักงานคนไทย (ภ.ง.ด.1)  ย้อนหลัง 3 เดือน พร้อมรายชื่อทั้งหมดของพนักงานคนไทย
11. สำเนารายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของคนต่างด้าว (ภ.ง.ด.91) ปีล่าสุด

หมายเหตุ
  1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
  2. เอกสารของบริษัทฯ หรือห้างฯ กรรมการผู้มีอำนาจตามหนังสือรับรองการจดทะเบียน หรือ หุ้นส่วนผู้จัดการลงนามรับรอง  ทุกหน้าทุกแผ่น แล้วประทับตราบริษัทฯ หรือห้างฯ เป็นสำคัญ
  3. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริง  ทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
  4. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141 9902-3
อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา
(แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. หนังสือจากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติไทยขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (เรียน ผูับัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6. หนังสือรับรองการพำนักอาศัยอยู่ประจำวัดจากเจ้าอาวาสวัด
7. ใบสุทธิ (หากเป็นภาษต่างประเทศต้องแปลเป็นภาษาไทย และรับรองการแปลโดยเจ้าอาวาสวัดที่พำนักอยู่)

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3
อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5.
5.1.หนังสือรับรองยอดเงินฝากจากธนาคารในประเทศไทย
5.2.สำเนาบัญชีเงินฝากประจำ หรือ ออมทรัพย์ไม่น้อยกว่า 800,000 บาท (หน้าที่ระบุชื่อและจำนวนเงิน พร้อมแสดงสมุดธนาคารฉบับจริง)
5.3. หลักฐานการโอนเงินเข้ามาจากต่างประเทศ
6. หนังสือรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุล เพื่อแสดงว่าเป็นผู้มีบำนาญไม่น้อยกว่าเดือนละ  65,000 บาท
7. หลักฐานเงินฝาก ตามข้อ 5 และหลักฐานเงินได้ ตามข้อ 6 (จำนวน 1ปี) รวมกันได้ไม่น้อยกว่า  800,000 บาท

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3
อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. บัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของบุคคลสัญชาติไทย หรือใบสำคัญถิ่นที่อยู่, ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว, ใบอนุญาตทำงาน และสำเนาทะเบียนบ้านของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่
6. – หลักฐานการเป็นบิดา มารดา บุตร  ทะเบียนการสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3) หรือสูติบัตรกรณีจดทะเบียนสมรสในต่างประเทศ แสดงทะเบียน  สมรสในต่างประเทศที่ผ่านการรับรองจาก สถานทูตและกระทรวงการต่างประเทศ  พร้อมทั้งแสดงทะเบียนฐานะความเป็นครอบครัว (คร.22)  หรือ
– หนังสือรับรองจากส่วนราชการ สถานทูต หรือสถานกงสุล แสดงว่าเป็นส่วนแห่งครัวเรือน (รับรองจากกองนิติกรณ์ (02-5751056-9) กระทรวงการต่างประเทศ)
7. หนังสือรับรองความเป็นโสดของคนต่างด้าว
8. แสดงหลักฐานการมีรายได้ของคนต่างด้าว (กรณีสามีเป็นคนต่างด้าว) เดือนละไม่น้อยกว่า 40,000 บาท รับรองจากสถานทูตหรือสถานกงสุล หรือบัญชีเงินฝากไม่น้อยกว่า 400,000 บาท พร้อมหนังสือรับรองยอดเงินฝากจากธนาคาร
9. กรณีสามีเป็นคนไทยแสดงหนังสือรับรองการทำงาน
10. ภาพถ่ายในพิธีมงคลสมรส หรือภาพถ่ายครอบครัว ประมาณ 4 รูป

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3
อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. หนังสือจากส่วนราชการระดับกรมหรือจากนายกสมาคม   ร้องขอในเรื่องการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (เรียน ผูับัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6. ใบอนุญาตจัดตั้งสมาคม

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3
Endorsement for departure from the Kingdom and Re-entry permit2020-02-24T06:46:51+00:00

เอกสารประกอบที่ต้องใช้
1. แบบฟอร์ม ตม.13
2. หนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทาง
3. ใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบแทนใบสำคัญถิ่นที่อยู่
4. ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวที่สมบูรณ์(ต่ออายุเรียบร้อย)
5. รูปถ่ายครึ่งตัวหน้าตรง ไม่สวมหมวก ขนาด 4×6 เซนติเมตร ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 1 รูป
6. ค่าธรรมเนียม 1,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินการ ภายใน 30 นาที
หมายเหตุ กองกำกับการ 1 (งานใบสำคัญถิ่นที่อยู่)
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารบี ชั้น 2
120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่
กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0-2141-7869 โทรสาร 0-2143-8226

Notification of staying over 90 days2020-02-24T06:45:28+00:00

คนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวแล้ว ถ้าอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน
คนต่างด้าวผู้นั้นมีหน้าที่ต้องรายงานตัวแจ้งที่พักอาศัยต่อพนักงานสำนักงาน ตรวจคนเข้าเมือง ทุก 90 วัน
หากท้องที่ใดมีที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองตั้งอยู่จะแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทำการแห่งนั้นก็ได้
ทั้งนี้ เป็นไปตาม มาตรา 37(5) แห่ง พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522

ดูรายละเอียด
List of countries for Tourist Visa Exemption2020-02-24T06:39:48+00:00

– 37 countries are allowed to stay not over 30 days
– 26 countries countries can stay not over 15 days

[pdf-embedder url=”/wp-content/uploads/2020/01/visaexempt.pdf” title=”visaexempt”]

Transfer of passport in case of lost passport, expiry and full paged passport2020-02-24T06:36:06+00:00

เอกสารประกอบ
1. แบบคำขอ
2. สำเนาหนังสือแจ้งความจากสถานีตำรวจ
3. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มเก่าที่มีรูปถ่าย (ถ้ามี)
4. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มใหม่
5. หนังสือจากสถานทูตถึงสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองขอความร่วมมือ
ให้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองสำเนาตราเข้าในหนังสือเดินทางเล่มใหม่ให้กับคน ต่างด้าวนั้น
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
1. ให้คนต่างด้าวพบเจ้าหน้าที่ ที่เคาน์เตอร์บริการงานเปลี่ยนเล่มหนังสือเดินทาง
กองกำกับการ 2 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 เพื่อยื่นคำร้อง และกรอกข้อมูล รายละเอียด
เช่น ชื่อ สกุล เลขที่หนังสือเดินทาง วันเดือนปี ที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร และเที่ยวบิน
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบรายละเอียดของคำขอและตรวจสอบความถูกต้อง
ความสมบูรณ์ของหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางเล่มใหม่
และจะต้องมีใบแจ้งความร้องทุกข์
3. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานการเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
4. เมื่อพบข้อมูลการเข้ามาในราชอาณาจักรโดยถูกต้องก็จะดำเนินการสำเนาตราขาเข้าให้กับคนต่างด้าวต่อไป
5. กรณีคนต่างด้าวมีการยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรหรือมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
ให้ไปพบเจ้าหน้าที่ยังแผนกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจลง ตรา หรือ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
แล้วแต่กรณีเพื่อสำเนาตราอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเพื่อรอฟังผลการพิจารณา
ให้อยู่ต่อหรือรอฟังผลการพิจารณาคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร.0-2141-7884
หมายเหตุ กรณีเคยมีการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร สามารถติดต่อยื่นคำร้องที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองที่ยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรครั้งล่าสุด

Office Hours of each Immigration Division, Immigration Check Points and ImmigrationCheck Point of Border Malaysia, Myanmar, Laos and Cambodia2020-02-24T06:34:40+00:00

บก.ตม. 1

บก.ตม. 2

บก.ตม. 3

กาญจนบุรี ตม.จว.กาญจนบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่อนปรนบ้านเจดีย์สามองค์ ทุกวัน 06.00-18.00
จุดตรวจถาวรไทรโยค ทุกวัน 24 ชม.
จุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน้ำร้อน ทุกวัน 06.00-18.00
ชลบุรี ตม.จว.ชลบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่านพัทยา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่านศรีราชา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดตรวจแหลมฉบัง ทุกวัน 24 ชม.
สระแก้ว ตม.จว.สระแก้ว จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่านแดนถาวรบ้านเขาดิน ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่อนปรนเพื่อการค้าบ้านหนองปรือ ทุกวัน 09.00-17.00
จุดผ่อนปรนเพื่อการค้าบ้านตาพระยา ทุกวัน 09.00-17.00
ประจวบคีรีขันธ์ ตม.จว.ประจวบคีรีขันธ์ (อ.หัวหิน) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่อนปรนทางการค้าชายแดน ด่านสิงขร ทุกวัน 06.30-18.00
สมุทรสาคร ตม.จว.สมุทรสาคร จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตม.กระทุ่มแบน จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ระยอง ตม.จว.ระยอง (ตม.มาบตะพุด) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตม.ทอ.อู่ตะเภา ทุกวัน 24 ชม.
นครปฐม ตม.จว.นครปฐม จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
สมุทรปราการ ตม.จว.สมุทรปราการ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
นนทบุรี ตม.จว.นนทบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ปทุมธานี ตม.จว.ปทุมธานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ฉะเชิงเทรา ตม.จว.ฉะเชิงเทรา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
พระนครศรีอยุธยา ตม.จว.พระนครศรีอยุธยา จันทร์-ศุกร์ ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐
จันทบุรี ตม.จว.จันทบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-163.0
จุดตรวจถาวรบ้านแหลม ทุกวัน 06.00-22.00
จุดตรวจถาวรบ้านผักกาด ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่อนปรนบ้านซับตารี ทุกวัน 07.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านสวนส้ม ทุกวัน 07.00-18.00
ตราด ตม.จว.ตราด (คลองใหญ่) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตม.จว.ตราด (แหลมงอบ) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรบ้านหาดเล็ก ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่อนปรนทางการค้าบ้านมะม่วง ทุกวัน 06.00-22.00
จุดตรวจบุคคลและพาหนะทางน้ำบ้านคลองสน ทุกวัน 24 ชม.
ตม.ทอ.ตราด ทุกวัน ขึ้นอยู่กับสายการบิน
ลพบุรี ตม.จว.ลพบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตม3 ด่าน ตม.ท่าเรือกรุงเทพ จันทร์-ศุกร์ 09.00-17.00
ตม3 กก.บคด.บก.ตม.3 จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30

บก.ตม. 4

นครราชสีมา ตม.จว.นครราชสีมา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
มุกดาหาร ตม.จว.มุกดาหาร จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่2 ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่านแดนถาวรจุดตรวจท่าเทียบเรือเทศบาลเมืองมุกดาหาร ทุกวัน 06.00-20.00
หนองคาย ตม.จว.หนองคาย จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรจุดตรวจสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่1 ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่านแดนถาวรท่าเรือหนองคาย(ด่านท่าเสด็จ) ปิดไปแล้ว
จุดผ่อนปรนบ้านเปงจาน อาทิตย์ พุธ 08.00-16.30
จุดผ่อนปรนบ้านจุมพล อังคาร เสาร์ 08.00-16.30
จุดผ่อนปรนบ้านม่วง พุธ เสาร์ 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านหม้อ อ.ศรีเชียงใหม่ อัง พฤ เสาร์ 06.00-17.00
บึงกาฬ ตม.จว.บึงกาฬ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรจุดตรวจท่าเเพขนาน ทุกวัน 06.00-18.00
จุดตรวจท่าเรือ ตม.จว.หนองคาย ทุกวัน 08.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านบุ่งคล้า
จุดผ่อนปรนบ้านห้วยคาด
อุบลราชธานี ตม.จว.อุบลราชธานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก อ.สิรินธร ทุกวัน 06.00-20.00
จุดผ่านแดนถาวรบ้านปากแซง ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนหน้าที่ว่าการเขมราฐ ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านสองคอน
จุดผ่อนปรนบ้านด่านเก่า
จุดผ่อนปรนบ้านหนองแสง
นครพนม ตม.จว.นครพนม จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวร ท่าเทียบเรือเทศบาล ทุกวัน 06.00-18.00
จุดตรวจสะพานมิตรภาพ 3 ทุกวัน 06.00-22.00
อำนาจเจริญ ตม.จว.อำนาจเจริญ พุธ-อาทิตย์ 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนการค้าบ้านยักษ์คุ
ขอนแก่น ตม.จว.ขอนแก่น จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
อุดรธานี ตม.จว.อุดรธานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
สกลนคร ตม.จว.สกลนคร จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
เลย ด่าน ตม.ท่าลี่ ทุกวัน 08.00-18.00
ตม.เชียงคาน ทุกวัน 08.00-18.00
ตม.คกไผ่ ทุกวัน 08.00-18.00
ศรีษะเกษ จุดผ่านแดนถาวรช่องสะงำ ทุกวัน 7.00-20.00

บก.ตม. 5

เชียงใหม่ ตม.จว.เชียงใหม่ จันทร์-ศุกร์ 07.00-16.30
จุดผ่อนปรนช่องทางกิ่วผาวอก ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนช่องทางหลักแต่ง ทุกวัน 06.00-18.00
เชียงราย ตม.จว.เชียงราย จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพ ไทย – พม่า ด่าน ตม.แม่สาย(สายที่1) ทุกวัน 06.30-21.30
จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพ ไทย – พม่า ด่าน ตม.แม่สาย (สายที่2) ทุกวัน 06.30-21.30
จุดผ่อนปรน ท่าบ้านปางห้า อ.แม่สาย ทุกวัน 06.30-18.30
จุดผ่อนปรนท่าบ้านสายลมจอย อ.แม่สาย ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนท่าดินดำบ.ป่าแดง ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านแจ่มป๋อง ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านห้วยลึก ทุกวัน 06.30-18.30
พะเยา จุดผ่อนปรน ต.ภูซาง ทุกวัน 06.00-18.00
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง ทุกวัน
ตาก ตม.จว.ตาก (ตม.แม่สอด) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวร จุดตรวจสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร์ ทุกวัน 06.30-18.30
น่าน ตม.จว.น่าน จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรบ้านห้วยโก๋น บ.ห้วยโก๋น ทุกวัน 08.00-20.00
จุดผ่อนปรนบ้านห้วยสะแตง อ.ทุ่งช้าง (ไม่มี จนท.ทำการเฉพาะ)
จุดผ่อนปรนบ้านใหม่ชายแดน (ไม่มี จนท.ทำการเฉพาะ)
อุตรดิตถ์ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ทุกวัน 08.00-20.00
แม่ฮ่องสอน ตม.จว.เเม่ฮ่องสอน จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่อนปรน ช่องทางบ้านห้วยต้นนุ่น
จุดผ่อนปรนช่องทางบ้านห้วยผึ้ง
จุดผ่อนปรนบ้านน้ำเพียงดิน
พิษณุโลก ตม.จว.พิษณุโลก จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
นครสวรรค์ ตม.จว.นครสวรรค์ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30

 

บก.ตม. 6

กระบี่ ตม.จว.กระบี่ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ทอ.กระบี่ ทุกวัน 24 ชั่วโมง
ท่าเทียบเรือเกาะลันตา ทุกวัน 24 ชั่วโมง
ท่าเทียบเรือเจ้าฟ้า ทุกวัน 24 ชั่วโมง
ท่าเทียบเรือไสไทย ทุกวัน 24 ชั่วโมง
นราธิวาส ตม.จว.นราธิวาส จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรสุไหง โกลก ทุกวัน 05.00-18.00
จุดผ่านแดนถาวรตากใบ ทุกวัน 05.00-18.00
จุดผ่านแดนถาวรบูเก๊ะตา ทุกวัน 05.00-18.00
ทอ.นราธิวาส ทุกวัน ขึ้นอยู่กับ International flight
ภูเก็ต ตม.จว.ภูเก็ต จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตรัง ตม.จว.ตรัง จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่าน ตม.กันตัง จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
สุราษฎร์ธานี ตม.จว.สุราษฎร์ธานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
สนามบินสมุย ทุกวัน 05.00-22.00
พังงา ตม.จว.พังงา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
นครศรีธรรมราช ตม.จว.นครศรีธรรมราช จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ช่องตรวจพาหนะทางน้ำ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ปัตตานี ตม.จว.ปัตตานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ท่าเทียบเรือปัตตานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ยะลา ตม.จว.ยะลา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ระนอง ตม.จว.ระนอง จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดตรวจบริเวณปากน้ำระนอง ทุกวัน 06.30-24.00
จุดตรวจบริเวณท่าเรือสะพานปลา ทุกวัน 06.30-24.00
จุดตรวจบริเวณท่าเทียบเรือของบริษัทอันดามันจำกัด ทุกวัน 06.30-24.00
สตูล ตม.จว.สตูล จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่าน ตม.สตูล (ท่าเรือตำมะลัง) ทุกวัน 05.00-18.00
ด่าน ตม.ควนโดน ทุกวัน 05.00-18.00
สงขลา ตม.จว.สงขลา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่าน ตม.สะเดา ทุกวัน 05.00-23.00
ด่าน ตม.ปะดังเบซาร์ ทุกวัน 05.00-21.00
ด่าน ตม.ท่าเรือสงขลา ทุกวัน 24 ชั่วโมง
ด่าน ตม.บ้านประกอบ ทุกวัน 07.00-17.00
Procedure and notification of 90 days, documents required for three nationalities Labor : Loas , Cambodia and Myanmar2020-02-24T04:28:36+00:00

[pdf-embedder url=”/wp-content/uploads/2020/01/90daysreport-1.pdf” title=”90daysreport”]

Notification of termination of employment2020-02-24T04:27:32+00:00
Rate of overstay fine2020-02-24T04:24:50+00:00

เรื่องมอบอำนาจให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการเปรียบเทียบ
ให้ดำเนินการเปรียบเทียบปรับตามจำนวนวันที่คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรโดยการอนุญาต
สิ้นสุดหรือถูกเพิกถอน วันละ 500 บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วไม่เกิน 20,000 บาท

[pdf-embedder url=”/wp-content/uploads/2020/01/overstayfine49-1.pdf” title=”overstayfine49″]

Apply for residence , named in household registration and naturalization2020-02-24T05:08:53+00:00

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขประกอบการพิจารณาอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
คำแนะนำ และรายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร (ในโควตาประจำปี )
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเป็นผู้เชี่ยวชาญ (ธันวาคม 2552)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อการลงทุน (ธันวาคม 2552)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อมาทำงาน (ธันวาคม 2552)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อเหตุผลทางมนุษยธรรม (ธันวาคม 2552)

 

Changing the purpose of visa extension2020-02-24T04:17:48+00:00
What is the responsibility of each division?2020-02-24T04:15:24+00:00

บก.ตม. 1

ให้บริการคนต่างด้าวที่พักอาศัยหรือประกอบกิจการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครยกเว้น ด่าน ตม.ท่าเรือกรุงเทพรับผิดชอบให้บริการเกี่ยวกับการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร การขอมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรงานเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมือง และปฏิบัติหน้าที่ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์และอื่นๆ ที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองรับผิดชอบในเขตกรุงเทพมหานครหรือตามที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติกำหนด

บก.ตม. 2

มีภารกิจในการตรวจบุคคลและพาหนะที่เดินทาง เข้า – ออก ราชอาณาจักร ทางท่าอากาศยาน 5 แห่ง

1.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
2.ท่าอากาศยานดอนเมือง
3.ท่าอากาศยานภูเก็ต
4.ท่าอากาศยานเชียงใหม่
5.ท่าอากาศยานหาดใหญ่

บก.ตม. 3

ตม.จว.กาญจนบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.กาญจนบุรี, ด่าน ตม.สังขละบุรี

ตม.จว.ชลบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.ชลบุรี, ด่าน ตม.พัทยา,ด่าน ตม.ศรีราชา,ด่าน ตม.สีชัง

ตม.จว.สระแก้ว รับผิดชอบพื้นที่ จว.สระแก้ว, ด่าน ตม.อรัญประเทศ

ตม.จว.ประจวบคีรีขันธ์ รับผิดชอบพื้นที่ จว.ประจวบคีรีขันธ์, จว.เพชรบุรี, ด่าน ตม.สิงขร

ตม.จว.สมุทรสาคร รับผิดชอบพื้นที่ จว.สมุทรสาคร , จว.สมุทรสงคราม

ตม.จว.ระยอง รับผิดชอบพื้นที่ จว.ระยอง

ตม.จว.นครปฐม รับผิดชอบพื้นที่ จว.นครปฐม , จว.ราชบุรี

ตม.จว.สมุทรปราการ รับผิดชอบพื้นที่ จว.สมุทรปราการ

ตม.จว.นนทบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.นนทบุรี

ตม.จว.ปทุมธานี รับผิดชอบพื้นที่ จว.ปทุมธานี

ตม.จว.ฉะเชิงเทรา รับผิดชอบพื้นที่ จว.ฉะเชิงเทรา ,จว.ปราจีนบุรี , จว.นครนายก

ตม.จว.พระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบพื้นที่ จว.พระนครศรีอยุธยา,จว.สุพรรณบุรี,จว.อ่างทอง

ตม.จว.จันทบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.จันทบุรี,ด่าน ตม.โป่งน้ำร้อน

ตม.จว.ตราด รับผิดชอบพื้นที่ จว.ตราด,ด่าน ตม.คลองใหญ่,ด่าน ตม.แหลมงอบ

ตม.จว.ลพบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.ลพบุรี,จว.สระบุรี,จว.ชัยนาท,จว.สิงห์บุรี

ด่าน ตม.ท่าเรือกรุงเทพ รับผิดชอบพื้นที่บริเวณเขตท่าเรือกรุงเทพ(คลองเตย)

กองกำกับการ งานบริการคนต่างด้าว บก.ตม.3 รับผิดชอบพื้นที่ในสังกัด บก.ตม.3

บก.ตม. 4

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด มุกดาหาร
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.มุกดาหาร ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด ศรีสะเกษ
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.ศรีสะเกษ ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด สกลนคร
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.สกลนคร และ จว.กาฬสินธุ์ ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด บึงกาฬ
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.บึงกาฬ ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด เลย
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.เลย ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด ขอนแก่น
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.ขอนแก่น จว.ชัยภูมิ และ จว.มหาสารคาม ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด อุบลราชธานี
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.อุบลราชธานี ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด อำนาจเจริญ
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.อำนาจเจริญ , จว.ร้อยเอ็ด และ จว.ยโสธร ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด อุดรธานี
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.อุดรธานี และ จว.หนองบัวลำภู ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด นครพนม

เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.นครพนม ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด นครราชสีมา
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.นครราชสีมา , จว.บุรีรัมย์ และ จว.สุรินทร์ ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด หนองคาย
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.หนองคาย ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

บก.ตม. 5

ตม.จว.เชียงราย เขตพื้นที่รับผิดชอบ จว.พะเยา แบ่งเป็น

ด่าน ตม.แม่สาย

ด่าน ตม.เชียงแสน

ด่าน ตม.เชียงของ

ด่าน ทอ.แม่ฟ้าหลวง

ตม.จว.น่าน เขตพื้นที่รับผิดชอบ น่าน แพร่ อุตรดิตถ์

ตม.จว.เชียงใหม่ เขตพื้นที่รับผิดชอบ ลำพูน ลำปาง

ตม.จว.แม่ฮ่องสอน เขตพื้นที่รับผิดชอบ แม่ฮ่องสอน

ตม.จว.ตาก เขตพื้นที่รับผิดชอบ ตาก สุโขทัย

ตม.จว.พิษณุโลก เขตพื้นที่รับผิดชอบ พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์

ตม.จว.นครสวรรค์ เขตพื้นที่รับผิดชอบ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี

บก.ตม. 6

ตม.จว.นราธิวาส

รับผิดชอบพื้นที่ จว.นราธิวาส ให้บริการเกี่ยวกับงาน
1.งานอำนวยการ
2.งานตรวจบุคคลและพาหนะ
3.งานบริการคนเข้าเมือง
4.งานปราบปรามและส่งกลับ

ตม.จว.ภูเก็ต

รับผิดชอบพื้นที่ จว.ภูเก็ต ให้บริการเกี่ยวกับงาน
1.งานบริการขออยู่ต่อ
2.งานตรวจบุคคลและพาหนะ
3.งานสืบสวนปราบปราม

ตม.จว.สงขลา

1.ด่าน ตม.สะเดา มีภารกิจ ตรวจอนุญาตบุคคลเดินทางเข้า-ออก
ณ. ช่องทางอนุญาต เส้นทางคมนาคมจากพรมแดน ถึงที่ตั้ง ตม.สะเดา

2.ด่าน ตม.ปาดังเบซาร์ มีภารกิจ ตรวจอนุญาตบุคคลเดินทางเข้า-ออก
ณ. ช่องทางอนุญาต เส้นทางคมนาคมจากพรมแดน ถึงที่ตั้ง ตม.ปาดังเบซาร์
และเส้นทางคมนาคมทางรถไฟจากพรมแดนถึงหน้าสถานีปาดังเบซาร์

3.ด่าน ตม.ท่าเรือ มีภารกิจ ตรวจอนุญาตบุคคลเดินทางเข้า-ออก
ณ.ช่องทางอนุญาตบริเวณท่าเรือน้ำลึก และบริเวณเขตท่าเรือเดินเรือไทย

4.ด่าน ตม.บ้านประกอบ มีภารกิจ ตรวจอนุญาตบุคคลเดินทางเข้า-ออก
ณ. ช่องทางอนุญาต เส้นทางคมนาคมจากพรมแดน ถึงที่ตั้ง ตม.บ้านประกอบ

ตม.จว.สตูล

1.ตม.จว.สตูล รับผิดชอบพื้นที่ จว.สตูล , ตรัง, และ พัทลุง
ให้บริการเกี่ยวกับงานขออยู่ต่อทั้งระยะสั้นและระยะยาว,
งานขออนุญาตเพื่อกลับเข้าในราชอาณาจักร,งานแจ้งที่พักอาศัย,
งานแจ้งการอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน

2.ด่าน ตม.สตูล(ท่าเรือตำมะลัง)
ให้บริการเกี่ยวกับการตรวจบุคคลและพาหนะที่เดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักร
และงานตรวจลงตรา(VISA ON ARRIVAL)

3.ด่าน ตม.ควนโดน
ให้บริการเกี่ยวกับการตรวจบุคคลและพาหนะ ที่เดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักร

4.ด่าน ตม.กันตัง
ให้บริการเกี่ยวกับงานขออยู่ต่อทั้งระยะสั้นและระยะยาว,
งานขออนุญาตเพื่อกลับเข้าในราชอาณาจักร,งานแจ้งที่พักอาศัย,
งานแจ้งการอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน ,
การตรวจลงตรา(NON-QUOTA)งานตรวจบุคคลพาหนะ และงานประกันลูกเรือ

ตม.จว.สุราษฎร์ธานี
รับผิดชอบพื้นที่ จว.สุราษฎร์ธานี ให้บริการในงานด้านต่างๆดังนี้
1.งานตรวจบุคคลและพาหนะทางน้ำและอากาศ
2.งานบริการคนเข้าเมือง(ขออยู่ต่อ,Re-Entry และรับแจ้งอยู่เกิน 90 วัน)
3.งานสืบสวนปราบรามตามกฎหมาย
4.บุคคลต้องห้าม(ส่งกลับผลักดันคนต่างด้าวผิดกฎหมาย)

ตม.จว.กระบี่
รับผิดชอบพื้นที่ จว.พังงา ให้บริการเกี่ยวกับงานดังต่อไปนี้
1. งานบริการขออยู่ต่อระยะสั้น และระยะยาว
2. งานตรวจบุคคลเดินทางเข้า – ออก ราชอาณาจักรทางน้ำ และทางอากาศ
3. งานบุคคลต้องห้าม
4. งานรับแจ้งที่พัก

ตม.จว.พังงา ตม.จว.พังงา
รับผิดชอบพื้นที่ จว.พังงา ให้บริการเกี่ยวกับงานดังต่อไปนี้
1.งานบริการขออยู่ต่อ
2.งานรายงานตัวของคนต่างด้าวและรับแจ้งที่พักอาศัยของแรงงาน
3.งานพลักดันส่งกลับ
4.งานสืบสวนปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมายคนเข้าเมือง

ตม.จว.นครศรีธรรมราช
รับผิดชอบพื้นที่ จว.นครศรีธรรมราช ให้บริการเกี่ยวกับงานดังต่อไปนี้
1.งานบริการคนเข้าเมือง , ขออยู่ต่อ Re-Entry ,
งานสลักหลังแจ้งออก,งานตรวจพาหนะทางน้ำ, งานรับแจ้งที่พักอาศัยของคนต่างด้าว
2.งานสืบสวนปราบปรามบุคคลต่างด้าวผิดกฎหมาย และงานรับแจ้งอยู่เกิน 90 วัน

ตม.จว.ปัตตานี
รับผิดชอบพื้นที่ จว.ปัตตานี ให้บริการเกี่ยวกับงานดังต่อไปนี้
1.การอนุญาตสิ้นสุด แจ้งที่พักอาศัย และรายงานตัวอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน
2.การอนุญาตอยู่ต่อชั่วคราว
3.การอนุญาตเพื่อกลับเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรอีก

ตม.จว.ยะลา
รับผิดชอบพื้นที่ จว.ยะลา มีหน้าที่ในการปฏิบัติงาน 4 ด้าน

1.ตรวจอนุญาต
2.บริการคนต่างด้าว
3.ป้องกันปราบปราม
4.ธุรการ อำนวยการ

ตม.จว.ระนอง
รับผิดชอบพื้นที่ จว.ระนอง และ จว.ชุมพร มีหน้าที่รับผิดชอบในงานดังต่อไปนี้

1.งานอำนวยการ
2.งานบริการคนต่างด้าว
3.งานสืบสวน ปราบปราม และส่งกลับ
4.งานตรวจบุคคลและยานพาหนะ
5.งานพิสูจน์สัญชาติ

Arrival and departure information2020-02-24T04:12:48+00:00

Please contact Information Technology Center Tel. 0 2286 2774
1. self checking
Thai
– I.D. Card or passport and a copy
Alien
– passport and a copy of passport
2. second party
Thai
– Power of attorney with 10 baht revenue stamp
– I.D. Card or passport and a copy of both proxy and attorney

Alien residence and Blacklist information data
Checking informaton of Information Technology
system. Immigration Bureau will check this
information in case of Legal Execution Department,
Ministry of Justice inform the Immigration Bureau
to record of watchlist alien such as order control
of their property including Bankruptcy
1. self checking
If alien wishes to check his status against the
watchlist information, he should execute the following:
– Check passport and fill out application form
at Immigration Detention Center
2. second party
– Should obtain Power of attorney and copy of
I.D. card of both proxy and attorney and then fill out
application form
Contact Investigation Division Tel. 0 2287 3101

Procedure of checking or asking about alien in detention center at Immigration Bureau2020-02-24T03:28:05+00:00

contact in person at The 5 Building ,
Soi Suan Plu or by Tel. 0 2213 2369,
included notifying name, surname, nationality,
age, arrested date, time and state sector

Procedure, and regulation of Immigration for each extension together with documents required2020-02-24T03:26:11+00:00
หลักเกณฑ์การพิจารณา
1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว2. คนต่างด้าวต้องมีเงินได้ตามตารางเงินได้แนบท้ายคำสั่งนี้ (ผนวก ก)

3. ต้องเป็นธุรกิจซึ่งมีทุนจดทะเบียนที่ชำระ
แล้วไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาท

4. ธุรกิจนั้นต้องยื่นงบการเงิน ณ วันสิ้นงวด
สองปีบัญชีที่ผ่านมา ที่ได้รับการตรวจรับรอง
ความถูกต้องจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหรือ
ผู้สอบบัญชีภาษีอากรแล้วแต่กรณีเพื่อแสดงว่า
ธุรกิจมีความมั่นคงเชื่อถือได้ มีการประกอบการจริง
และมีความต่อเนื่อง โดยพิจารณาจากแนวทางพิจารณา
สถานภาพธุรกิจว่ามีการประกอบการจริงและมีความ ต่อเนื่องแนบท้ายคำสั่งนี้ (ผนวก ข)

5. ธุรกิจนั้นมีความจำเป็นจะต้องว่าจ้าง
คนต่างด้าวทำงาน

6. ธุรกิจนั้นต้องมีอัตราส่วนระหว่างจำนวน
คนต่างด้าวกับพนักงานคนไทยประจำ ใน
อัตราส่วนคนต่างด้าว 1 คนต่อพนักงานคนไทย
ประจำ 4 คน

7. ธุรกิจประเภทดังต่อไปนี้ ให้ได้รับการ
ยกเว้นหลักเกณฑ์ตามข้อ (3) (4) และ (5)
และให้ได้รับการผ่อนผันในเรื่องอัตราส่วนคน
ไทยตามหลักเกณฑ์ข้อ (๖) โดยให้มีพนักงาน
คนไทยในอัตราส่วนคนต่างด้าว ๑ คน ต่อ
พนักงานคนไทยประจำ ๑ คน
(ก) ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
(สำนักงานผู้แทน)
(ข) สำนักงานภูมิภาค
(ค) บริษัทข้ามชาติ (สำนักงานสาขา)

เอกสารประกอบที่ต้องใช้
1. แบบคำขอ ตม.7 รูปถ่าย ขนาด 4 x 6 ซม จำนวน 1 รูป และ ค่าธรรมเนียม 1,900.- บาท (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ (หน้าที่มีรูปถ่าย, วีซ่า, ตราเดินทางเข้าครั้งสุดท้าย, บัตรขาออก (ตม.6), ตรา RE-Entry Permit,  ตราประทับการอนุญาตให้อยู่ต่อครั้งสุดท้าย และคนต่างด้าวลงลายมือชื่อรับรองทุกแผ่น)

3. หนังสือรับรองคนต่างด้าวเข้าทำงานตามแบบของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (แบบ สตม.1)

4. สำเนาใบอนุญาตทำงาน (ทุกหน้าที่มีข้อมูลปรากฎ และคนต่างด้าวลงลายมือชื่อรับรองทุกแผ่น)

5. สำเนาหลักฐานการจดทะเบียนขององค์กรนั้น เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท หรือการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน ฉบับนายทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน

6. สำเนาบัญชี รายชื่อผู้ถือหุ้นทั้งหมด ฉบับนายทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน

7. สำเนางบดุล และงบกำไรขาดทุน ปีล่าสุด พร้อมแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล(ภ.ง.ด.50)และใบเสร็จรับเงิน และสำเนา สบช.3 (ต้องผ่านการรับรองความถูกต้องจากสรรพากร หรือกระทรวงพาณิชย์ หรือจากผู้ตรวจสอบบัญชี หรือใช้เอกสารตัวจริงเท่านั้น)

8. สำเนาแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด.1) ที่มีชื่อพนักงานไทยและชื่อคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอ 3 เดือนล่าสุดพร้อมใบเสร็จรับเงิน (กรณีไม่มีชื่อของคนต่างด้าวให้ทำหนังสือชี้แจง และคนต่างด้าวห้ามมีรายชื่อใน ภ.ง.ด.1 ก่อนมีใบอนุญาตทำงาน)

9. สำเนาแบบยื่นรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.91) ของคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอ ปีล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน (ถ้ามี)

10. สำเนาแบบรายการแสดงการส่งเงินสมทบตามที่ได้ยื่นไว้ต่อสำนักงานประกันสังคม ( สปส.1-10) 3 เดือนล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน

11. สำเนาแบบแสดงรายการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30 หรือ ภ.พ.36) ของปีงบการเงินล่าสุด 3 เดือนล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน

12. เอกสารหรือหลักฐานแสดงว่า ธุรกิจมีความจำเป็นจะต้องว่าจ้างคนต่างด้าวทำงาน เช่น ประกาศรับสมัครคนไทยเข้าทำงาน แล้วไม่มีผู้สมัคร เป็นต้น

13. แผนที่แสดงสถานที่ทำงานของผู้ยื่นคำขอ (ประทับตราบริษัทและกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม )

14. เอกสารหรือหลักฐานอื่น ตามที่คณะกรรมการติดตามการปฎิบัติราชการของพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองของ สตม. กำหนด (แบบ สตม.2)

15. รูปถ่ายสถานประกอบการ (ประทับตราบริษัทและกรรมการผู้มีอำนาจลงนามทุกแผ่น)
– ภายนอก ให้ปรากฏรูปถ่ายสภาพตัวอาคาร, เลขที่ตั้ง และป้ายชื่อสถานประกอบการ
– ภายใน ให้ปรากฏภาพพนักงานคนไทยและคนต่างด้าวขณะปฏิบัติงานอยู่

16. ให้นำหลักฐานเอกสารตัวจริงตามข้อ 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 มาแสดงด้วย

17. กรณีมีครอบครัวติดตามมาอยู่ด้วย ให้แสดงหลักฐานครอบครัว ได้แก่ ทะเบียนสมรส ใบเกิดบุตร หากออกโดยรัฐบาลในต่างประเทศ ให้ผ่านการรับรองจากสถานทูตของประเทศนั้นๆ

หมายเหตุ:   ข้อ 8-11 รับรองความถูกต้องจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง

หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากกระทรวง ทบวง กรมที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและร้องขอจากกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากหน่วยงาน หรือองค์กรนั้น ๆ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวข้อง
  5. หลักฐานแสดงความเป็นหน่วยงานของรัฐ (ถ้ามี)
หมายเหตุ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทนักท่องเที่ยว
  2. ไม่เป็นบุคคลสัญชาติ หรือจำ พวกที่ คณะกรรมการติดตามการปฏิบัติราชการ
    ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง ของ สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองกำหนด
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า , ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. รูปถ่าย ขนาด 4 x 6 ซม. (ที่ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน)
  4. ค่าธรรมเนียม 1,900 บาท
เอกสารเฉพาะกรณี
กรณีเจ็บป่วย

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หนังสือรับรองจากโรงพยาบาล โดยให้ปรากฏคำวินิจฉัยของแพทย์ดังนี้
    –  เจ็บป่วยเป็นโรค หรืออะไร
    –  เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางไกลหรือไม่ อย่างไร
    –  ต้องรักษาตัว หรือไม่สามารถเดินทางไกล นานเท่าใดแต่เมื่อใด เป็นต้นไป

กรณีดูแลผู้ป่วย

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หนังสือรับรองจากโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษาผู้ป่วย  โดยระบุความสัมพันธ์กับผู้ป่วย  หรือหนังสือรับรองความสัมพันธ์กับผู้ป่วยจากสถานทูต หรือสถานกงสุล

กรณีเพื่อเยี่ยมญาติหรือกลับภูมิลำเนาเดิมของผู้เคยมีสัญชาติไทยหรือของผู้ที่มีบิดาหรือมารดา  เป็นบุคคลสัญชาติไทยหรือเคยมีสัญชาติไทย

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หลักฐานแสดงว่าเดิมเคยมีสัญชาติไทย หรือแสดงว่าบิดา หรือมารดามีสัญชาติไทย หรือเคยมีสัญชาติไทย

กรณีเพื่อเยี่ยมคู่สมรส หรือเยี่ยมบุตรซึ่งมีสัญชาติไทย

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  4. (กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งทางนิตินัย และพฤตินัย)
    3.1 สำเนาทะเบียนบ้านของคู่สมรส หรือบุตร
    3.2 สำเนาบัตรประชาชนของบุคคลผู้มีสัญชาติไทย
    3.3 สำเนาทะเบียนสมรส หรือสำเนาสูติบัตรของบุตร

กรณีเพื่อการดำเนินคดี หรือดำเนินกระบวนพิจารณาอันเกี่ยวกับคดี

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หลักฐานยืนยันว่าเป็นผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดี โดยเป็นผู้กล่าวหา  ผู้เสียหาย  ผู้ต้องหา  โจทก์จำเลย  หรือพยาน

กรณีปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจให้แก่ส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือสถานฑูต  หรือสถานกงสุล  หรือองค์การระหว่างประเทศ

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หนังสือรับรองหรือร้องขอ จากส่วนราชการระดับกรม  หรือเทียบเท่า  หรือหัวหน้า
  4. รัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐ  หรือจากส่วนราชการตำรวจระดับกองบังคับการหรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือจากส่วนราชการทหารระดับผู้บังคับหน่วยในสังกัดกระทรวงกลาโหม  กองบัญชาการกองทัพไทย  กองทัพบก  กองทัพเรือ  กองทัพอากาศ  ซึ่งมีชั้นยศพลตรี  พลเรือตรี  พลอากาศตรีขึ้นไป ในส่วนที่เกี่ยวข้อง  หรือจากองค์การระหว่างประเทศกรณีมีเหตุจำเป็นโดยมีสถานฑูต หรือสถานกงสุล รับรองและร้องขอ
  5. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  6. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  7. หนังสือรับรอง  หรือร้องขอ จากสถานฑูต หรือสถานกงสุล
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองแล ะร้องขอจาก สถานศึกษานั้น
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและร้องขอให้อยู่ต่อจาก สถานศึกษานั้น โดยระบุตำแหน่ง อัตรา เงินเดือน และระยะเวลาการจ้าง
  5. สำเนาใบประกอบวิชาชีพครู หรือสำเนา หนังสือรับรองสิทธิจากคุรุสภา หรือสำเนา หนังสือผ่อนผันจากคุรุสภา หรือสำเนาหนังสือ รับคำขออนุญาตผ่อนผันจากคุรุสภา
    (ยกเว้นครู หรืออาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ ในระดับ อุดมศึกษา)
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. สถานศึกษานั้นได้รับอนุญาตให้ประกอบ กิจการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
  3. ได้รับการรับรองและร้องขอจากสถานศึกษานั้น
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
กรณีโรงเรียนในระบบ ได้แก่ โรงเรียน สามัญศึกษา English Program โรงเรียน อาชีวศึกษาที่ใช้หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ และโรงเรียนนานาชาติ

  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. สำเนาหลักฐานการอนุญาตให้จัดตั้ง สถานศึกษาจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
  5. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก สถานศึกษานั้น โดยระบุตำแหน่ง อัตรา เงินเดือน และระยะเวลาการจ้าง และสำเนา หนังสือแต่งตั้งครูตามแบบที่ สช. กำหนด
  6. สำเนาใบประกอบวิชาชีพครู หรือสำเนา หนังสือรับรองสิทธิจากคุรุสภา หรือสำเนา หนังสือผ่อนผันจากคุรุสภา หรือสำเนาหนังสือ รับคำขออนุญาตผ่อนผันจากคุรุสภากรณีโรงเรียนนอกระบบ
    1. แบบคำขอ ตม.7
    2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
    3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
    4. สำเนาหลักฐานการอนุญาตให้จัดตั้ง สถานศึกษาจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
    5. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก สถานศึกษานั้น โดยระบุตำแหน่ง อัตรา เงินเดือน และระยะเวลาการจ้าง
    6. สำเนาหนังสือแต่งตั้งครู/ผู้สอน ตามแบบที่ สช.กำหนดกรณีสถาบันอุดมศึกษาของเอกชน
      1. แบบคำขอ ตม.7
      2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
      3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
      4. สำเนาหลักฐานการอนุญาตให้จัดตั้ง สถานศึกษาจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
      5. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก อธิการบดีของสถาบันการศึกษา โดยระบุ ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และระยะเวลาการจ้าง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองแล ะร้องขอจาก สถานศึกษานั้น
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก สถานศึกษานั้นโดยให้ปรากฏรายละเอียด เกี่ยวกับจำนวนปีการศึกษา ระดับหลักสูตร และผลการศึกษาของผู้ยื่นคำขอ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. หลักฐานรับรองการโอนเงินเข้ามาจากต่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 3 ล้านบาท โดยคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอต้องเป็นผู้สั่งโอนเงินจากต้นทางในต่างประเทศหรือเป็นผู้รับเงินปลายทางในประเทศ
    1. หลักฐานการนำเงินเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 3 ล้านบาทไปลงทุน หลังจากวันที่โอนเงินเข้ามาแล้ว
      กรณีใดกรณีหนึ่งหรือในหลายกรณีรวมกันดังต่อไปนี้

      • ฝากเงินประเภทฝากประจำกับธนาคารของรัฐ( ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ )
      • ซื้อพันธบัตร ซึ่งออกโดยส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจทั้งนี้ต้องซื้อจากส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ หรือซื้อจากตัวแทนที่ได้รับมอบหมายจากส่วนราชการหรือรัฐ วิสาหกิจนั้น
      • ซื้อห้องชุดในอาคารชุด จากเจ้าของโครงการตามราคาที่ได้จดทะเบียนกับส่วนราชการกรมที่ดิน
      • การลงทุนซึ่งสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อประเทศ
เงื่อนไขการอนุญาต

คนต่างด้าวต้องถือครองการลงทุนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา หากประสงค์จะเปลี่ยนช่องทางการลงทุนต้องมีหนังสือแจ้งขออนุญาตก่อน เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว จึงเปลี่ยนช่องทางการลงทุนได้ ทั้งนี้การเปลี่ยนช่องทางการลงทุนตามที่ได้รับอนุญาตต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่อง

หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากคณบดี สถาบันอุดมศึกษา หรือจากหัวหน้าสถาบันวิจัยนั้น ๆ
  3. กรณีฝึกส อน หรือ ค้นคว้าวิจัยใน สถาบันอุดมศึกษา หรือสถาบันวิจัยของเอกชน
    ต้องได้รับการรับรองและร้องขอจากส่วน ราชการที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก คณบดีสถาบันอุดมศึกษา หรือจากหัวหน้า สถาบันวิจัยนั้น ๆ
  4. เฉพาะกรณีตามหลักเกณฑ์ข้อ (3) ให้แนบ หนังสือรับรองและร้องขอให้อยู่ต่อจาก ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
กรณีเป็นครอบครัวของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ ชั่วคราวเพื่อศึกษาในสถานศึกษาตาม
หลักเกณฑ์ข้อ 2.8 หรือ 2.9 ของคำสั่งนี้ (เฉพาะบิดา มารดา คู่สมรส บุตร บุตรบุญ ธรรม หรือบุตรของคู่สมรส)
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งทาง นิตินัยและพฤตินัย หรือ
  4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของ คู่สมรสขออยู่ในอุปการะ บุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้นต้องยังไม่ได้สมรส และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้นและต้อง มีอายุไม่เกิน 20 ปีบริบูรณ์ หรือ
  5. กรณีบิดาหรือมารดา ต้องมีเงินฝากใน ธนาคารในประเทศไทยในนามบิดาหรือ มารดาคงอยู่ในบัญชีตลอดระยะเวลาย้อนหลัง
    3 เดือน ไม่น้อยกว่า 500,000 บาท เฉพาะใน ปีแรกให้แสดงบัญชีเงินฝาก โดยมีเงินจำนวน ดังกล่าว ฝากอยู่ในบัญชีมาแล้วไม่น้อยกว่า
    30 วัน ณ วันที่ยื่นขอตามเหตุผลนี้
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่เพื่อศึกษา
  4. สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น หลักฐานการสมรส สำเนาสูติบัตร หลักฐาน การจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียนบ้าน
    หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือ หลักฐานอื่น จากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากกรม ประชาสัมพันธ์ หรือกรมสารนิเทศ กระทรวง การต่างประเทศ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก กรมประชาสัมพันธ์ หรือกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองจากสำนักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ หรือสำ นักนายกรัฐมนตรี หรือ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย หรือมหามกุฎราช วิทยาลัย
  3. ได้รับการรับรองจากเจ้าอาวาสวัดที่ผู้ยื่น คำขอกำลังศึกษาหรือปฏิบัติศาสนกิจ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองจากสำนักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ หรือสำนักนายกรัฐมนตรี หรือ
    มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หรือมหามกุฏราช วิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาของสงฆ์อื่น ๆ
  4. หนังสือรับรองจากเจ้าอาวาสวัดที่ผู้ยื่นคำขอ กำลังศึกษาหรือปฏิบัติศาสนกิจ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองจากกรมการศาสนาหรือ สำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
  3. ได้รับการรับรองและร้องขอจากองค์กร ศาสนาที่ผู้ยื่นคำขอเข้ามาประจำอยู่
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองจากกรมการศาสนา หรือ สำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
  4. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร ศาสนานั้นๆ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองการจ้างจากโรงแรมหรือ จากบริษัทที่ประกอบธุรกิจบันเทิงในประเทศ ไทยซึ่งมีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่น้อยกว่า 20 ล้านบาท
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. สำเนาหนังสือสัญญาว่าจ้างผู้ยื่นคำขอทำงาน เป็นนักแสดง นักร้อง หรือนักดนตรี
  5. สำเนาหลักฐานการจดทะเบียนขององค์กร นั้น เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท
    หรือ การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนฉบับ นายทะเบียนรับรอง ไม่เกิน 6 เดือน
  6. เฉพาะกรณีบริษัทที่ประกอบธุรกิจบันเทิง ฯ ให้แนบสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นฉบับนาย ทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน
  7. สำเนาแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่มีชื่อคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอเดือนล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน
  8. สำเนาแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาของคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอปีล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน (ถ้ามี)
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งทาง นิตินัยและพฤตินัย หรือ
  4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรส ขออยู่ในความอุปการะบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้นต้องยังไม่ได้สมรส
    และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้น และต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ หรือ
  5. กรณีบิดาหรือมารดา บิดาหรือมารดา นั้นต้องมีรายได้เฉลี่ยทั้งปีไม่น้อยกว่าเดือนละ 40,000 บาท หรือต้องมีเงินฝากไม่น้อยกว่า
    400,000 บาท เพื่อไว้ใช้จ่ายในรอบ 1 ปี
  6. กรณีสมรสกับหญิงไทย ฝ่ายสามีซึ่งเป็น คนต่างด้าวต้องมีรายได้เฉลี่ยทั้งปีไม่น้อยกว่า เดือนละ 40,000 บาท หรือเงินฝากใน ธนาคารในประเทศไทยคงอยู่ในบัญชีตลอด
    ระยะเวลาย้อนหลัง 2 เดือน ไม่น้อยกว่า 400, 000 บาท เพื่อไว้ใช้จ่ายในรอบปี
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. กรณีอุปการะบุตรไทย/บุตรไทย
  2. กรณีภรรยาไทย
  3. กรณีสามีไทย
หมายเหตุ
1)  ผู้ยื่นคำขอและบุตร/ภรรยา/สามีผู้มีสัญชาติไทย ต้องมาติดต่อด้วยตนเอง เพื่อมาให้ปากคำ
2)  ให้นำหลักฐานเอกสารตัวจริงมาแสดง  และถ่ายเอกสารพร้อมรับรองสำเนาถูกต้องด้วยลายมือชื่อของผู้ยื่นคำขอ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้ง ทางนิตินัยและพฤตินัย หรือ
  4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของ คู่สมรสขออยู่ในความอุปการะบุตร
    บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้นต้อง ยังไม่ได้สมรส และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้น และต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ หรือ
  5. กรณีบิดาหรือมารดา บิดาหรือมารดานั้น ต้องมีอายุตั้งแต่ 50 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น
    หลักฐานการสมรส สำเนาสูติบัตร หลักฐาน การจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียน หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือ
    หลักฐานอื่นจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
  4. สำเนาใบสำคัญถิ่นที่อยู่ และสำเนาใบ สำคัญประจำตัวคนต่างด้าวของผู้มีถิ่นที่อยู่
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้ง ทางนิตินัยและพฤตินัย หรือ
  4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของ คู่สมรสขออยู่ในความ อุปการะ บุตร
    บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้น ต้องยังไม่ได้สมรส และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้น
    และต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ หรือ
  5. กรณีบิดาหรือมารดา บิดาหรือมารดา นั้นต้องมีอายุตั้งแต่ 50 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรฯ
  4. สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น
    หลักฐานการสมรส สำเนาสูติบัตร หลักฐาน การจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียนบ้าน หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือ
    หลักฐานอื่นจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากผู้มี อำนาจ หรือผู้ดำรงตำแหน่งสูงสุดในองค์กร นั้น และ / หรือ
  3. ได้รับการรับรองและร้องขอจากหัวหน้า ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าขึ้นไป
    หรือ หัวหน้ารัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้า หน่วยงานอื่นของรัฐซึ่งเกี่ยวข้องกับองค์กร นั้น
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. สำเนาใบอนุญาตให้จัดตั้งองค์กรจากทาง ราชการ หรือสำเนาใบอนุญาตให้เข้ามา ดำเนินการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
  5. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร นั้น
  6. บัญชีรายชื่อคนต่างด้าวที่ทำงานในองค์กร
  7. เฉพาะกรณีตามหลักเกณฑ์ข้อ(3) ให้แนบหนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากหัวหน้า ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าขึ้นไป
    หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้าหน่วยงาน อื่นของรัฐซึ่งเกี่ยวข้องกับองค์กรนั้น
หลักเกณฑ์การพิจารณา
มีหลักฐานแสดงว่าเดิมเคยมีสัญชาติไทย หรือแสดงว่าบิดา หรือมารดามีสัญชาติไทย หรือเคยมีสัญชาติไทย
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาเอกสารแสดงว่าเดิมเคยมีสัญชาติไทย
    หรือแสดงว่าบิดา หรือมารดา มีสัญชาติไทย หรือเคยมีสัญชาติไทย
    (กรณีหลักฐานแสดงการมีสัญชาติไทยมีข้อมูล ไม่ตรงกับหนังสือเดินทางให้ใช้หนังสือรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุล หรือหลักฐาน เอกสารที่ยืนยันว่าเป็นบุคคลเดียวกัน เช่น บันทึกสอบปากคำของบุคคลที่น่าเชื่อถือ )
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีอายุตั้งแต่ 50 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
  3. มีหลักฐานการมีเงินได้ไม่น้อยกว่า เดือนละ 65,000 บาท หรือ
  4. ณ วันยื่นคำขอมีเงินฝากในธนาคารใน ประเทศไทยคงอยู่ในบัญชีตลอดระยะ
    เวลาย้อนหลัง 3 เดือน ไม่น้อยกว่า 800, 000 บาท เฉพาะในปีแรกให้แสดงบัญชีเงินฝากโดยมีเงินจำนวนดังกล่าวฝากอยู่ในบัญชี
    มาแล้วไม่น้อยกว่า 60 วัน หรือ
  5. มีเงินได้ในรอบปี และมีเงินฝากธนาคาร คำนวณรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 800,000 บาท นับถึงวันยื่นคำขอ
  6. คนต่างด้าว ซึ่งเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรก่อนวันที่ 21 ตุลาคม 2541
    และได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร เพื่อใช้ชีวิตในบั้นปลายต่อเนื่องตลอดมา
    ให้ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้
    (ก) อายุ 60 ปีขึ้นไป และมีรายได้ที่ แน่นอน โดยมีเงินฝากคงอยู่ในบัญชีตลอด ระยะเวลาย้อนหลัง 3 เดือน ไม่น้อยกว่าปีละ 2000,000 บาท
    หรือ มีรายได้ไม่น้อยกว่า เดือนละ 20,000บาท
    (ข) อายุไม่ถึง 60 ปี แต่ไม่น้อยกว่า 55 ปี ต้องมีรายได้ที่แน่นอนโดยมีเงินฝาก
    คงอยู่ในบัญชีตลอดระยะเวลาย้อนหลัง 3 เดือน ไม่น้อยกว่าปีละ 500,000 บาท หรือ มีรายได้ไม่น้อยกว่าเดือนละ 50,000 บาท
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  2. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้ง ทางนิตินัยและพฤตินัย
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาทะเบียนบ้าน
  4. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มี สัญชาติไทย
  5. สำเนาทะเบียนสมรส หรือสำเนาสูติบัตร
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองและร้องขอจากแพทย์ประจำโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษา โดยให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับอาการป่วย ระยะเวลาในการรักษา และความเห็นของแพทย์ผู้รักษาว่า อาการป่วยนั้นเป็นอุปสรรค ต่อการเดินทาง
  2. กรณีดูแลผู้ป่วยต้องได้รับการรับรอง และร้องขอจากแพทย์ประจำโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษา หรือจากสถานทูต หรือ สถานกงสุล
  3. ผู้ดูแลผู้ป่วย นอกจากบิดามารดา คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสแล้ว ให้อนุญาตได้อีกไม่เกิน 1 คน
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากแพทย์ ประจำโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษา
  4. เฉพาะกรณีดูแลผู้ป่วยให้แนบหนังสือรับรอง และขอให้อยู่ต่อจากแพทย์ประจำโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษา และเอกสารแสดง ความสัมพันธ์ (กรณีผู้ดูแลซึ่งเป็นส่วนแห่ง ครัวเรือน) เช่น หลักฐานการสมรส สำเนา สูติบัตร หลักฐานการจดทะเบียนรับรองบุตร หรือหนังสือรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุล
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดี หรือดำเนินกระบวนพิจารณา
    อันเกี่ยวกับคดี โดยเป็นผู้กล่าวหา ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา โจทก์จำเลย หรือพยาน
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองจากพนักงานสอบสวนที่เกี่ยวข้องกับคดีหรือหนังสือหรือเอกสารทางราชการที่ยืนยันว่าเป็นผู้เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินคดี หรือดำเนินกระบวนพิจารณาอันเกี่ยวกับคดี
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองและร้องขอจากส่วน ราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า หรือหัวหน้า
    รัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือจากส่วนราชการตำรวจระดับกองบังคับการหรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือจากส่วน ราชการทหารระดับผู้บังคับหน่วยในสังกัดกระทรวงกลาโหมกองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ ซึ่งมีชั้นยศพลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี ขึ้นไปในส่วนที่เกี่ยวข้อง หรือจากองค์การระหว่างประเทศ
  2. กรณีมีเหตุผลความจำเป็นเฉพาะรายต้อง อยู่เกินกำหนด 90 วัน ให้เสนอ ผบช. สตม. หรือ รอง ผบช.สตม.ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้พิจารณา
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากส่วน ราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐที่ เกี่ยวข้อง หรือจากส่วนราชการตำรวจระดับกองบังคับการ หรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือจากส่วนราชการทหารระดับผู้บังคับหน่วยในสังกัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ ซึ่งมีชั้นยศ พลตรี พลเรือตรี
    พลอากาศตรี ขึ้นไป ในส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง หรือจากองค์การระหว่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองและร้องขอจากสถานทูต หรือสถานกงสุล
  2. กรณีฝึกงานคนต่างด้าวนั้นต้องได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากสถานทูต หรือสถานกงสุลประจำประเทศไทย
  4. เฉพาะกรณีฝึกงาน ให้แนบสำเนาใบอนุญาตทำงาน
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองและร้องขอจากภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ให้พิจารณาจากเหตุผลความจำเป็นที่ไม่สามารถเดินทางออกได้
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร หรือหน่วยงานราชการหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 ( ค่าธรรมเนียม 1,900 บาท)
  2. แบบฟอร์ม ตม.8 ( ค่าธรรมเนียม S= 1,000 บาท, M=3,800 บาท )
  3. รูปถ่าย ขนาด 4 x 6 ซม. ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 2 รูป
  4. หนังสือรับรองจาก B.O.I. , การนิคมอุตสาหกรรม , กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ
  5. สำเนาหนังสือเดินทาง พร้อมหนังสือเดินทางฉบับจริง
    -ใช้หน้าที่มีรูปถ่าย
    – หน้าวีซ่า Non ครั้งแรก
    – การเดินทางครั้งแรกของ Non
    – หน้าวีซ่า ที่ได้รับการอนุญาตครั้งสุดท้าย
    – หน้า Re-Entry สุดท้าย
    – หน้าการเดินทางเข้าประเทศครั้งสุดท้าย
    – บัตร ตม.6
  6. แบบฟอร์ม สตม.2 ( การรับทราบเงื่อนไขการอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร )
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
  3. หนังสือชี้แจงตำแหน่งของคนต่างด้าวที่ปฏิบัติงานในบริษัท โดยให้ระบุ
    – ลักษณะธุรกิจ
    – เหตุผลความจำเป็นในการจ้าง ระบุตำแหน่ง อัตราเงินเดือน คุณวุฒิ
    – จำนวนพนักงานคนไทยและคนต่างด้าวที่มาปฏิบัติงานในบริษัท
  4. ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ และหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจ
  5. หลักฐานการนำเงินเข้ามาในราชอาณาจักรตามเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบธุรกิจ
  6. หนังสือแต่งตั้งจากสำนักงานใหญ่ ( Power of Attorney )
  7. รายการภาษีเงินได้ของคนต่างด้าวและพนักงานคนไทย (ภ.ง.ด.1 ) เดือนล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน
  8. รายการภาษีเงินได้ของคนต่างด้าว ( ภ.ง.ด.91 ) ปีล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน
  9. สำเนาแบบรายการแสดงการส่งเสริมเงินสบทบตามที่ได้ยื่นไว่ต่อสำนักงานประกันสังคม ( สปส.1-10 ) เดือนล่าสุด
  10. แผนที่แสดงที่ตั้งของสำนักงาน
  11. กรณีมีครอบครัวติดตามมาอยู่ด้วย ให้แสดงหลักฐานความเป็นครอบครัว เช่น ใบทะเบียนสมรส ใบสูติบัตร หรือหนังสือรับรองจากสถานทูต
  12. หนังสือรับทราบเงื่อนไขการอนุญาตให้อยู่ต่อในองค์กร
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป
  2. แบบฟอร์ม ตม.8 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป
  3. สำเนาหนังสือเดินทาง และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองจากกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องระดับกรม หรือ เทียบเท่า
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นขออยู่ต่อ
  3. สำเนาหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร
  4. สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น หลักฐานการจดทะเบียนสมรส สำเนาสูติบัตรหลักฐานการจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียนบ้าน หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือหลักฐานอื่นจากส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป (ผู้ขอ,ผู้ติดตามตามลำดับ (ถ้ามี) )
  2. แบบฟอร์ม ตม.8 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป (ผู้ขอ,ผู้ติดตามตามลำดับ (ถ้ามี) )
  3. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นขออยู่ต่อ
  4. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  5. บัญชีรายชื่อคนต่างด้าวทุกคนในบริษัท
  6. แผนภูมิแสดงตำแหน่งงาน
  7. หนังสือรับรองคนต่างด้าวเข้าทำงานตามแบบคำขอของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง(สตม.1)/หนังสือชี้แจงต่าง ๆ/ประกาศรับสมัครพนักงานคนไทย
  8. สำเนางบดุล และงบกำไรขาดทุน ปีล่าสุด (พร้อมฉบับจริง)
  9. สำเนาแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด.1) ที่มีชื่อพนักงานคนไทย และชื่อคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอและสำเนาใบเสร็จรับเงินเดือนล่าสุด พร้อมแสดงใบเสร็จรับเงินฉบับจริง
  10. สำเนาแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ส่วนบุคคลธรรมดาของคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอ (ภ.ง.ด.91) และสำเนาใบเสร็จรับเงิน  พร้อมแสดงใบเสร็จรับเงินฉบับจริง
  11. สำเนาแบบรายการแสดงการส่งเสริมเงินสบทบตามที่ได้ยื่นไว้ต่อสำนักงานประกันสังคม ( สปส.1-10 ) และสำเนาใบเสร็จรับเงิน เดือนล่าสุด พร้อมแสดงใบเสร็จรับเงินฉบับจริง
  12. หลักฐานการจดทะเบียนขององค์กรนั้น เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท (ฉบับจริง) หรือ การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนฉบับนายทะเบียน (ฉบับจริง) รับรองไม่เกิน 6 เดือน
  13. บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นฉบับนายทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน (บอจ.5) (ฉบับจริง)
  14. กรณีมีครอบครัวติดตามมาอยู่ด้วย ให้แสดงหลักฐานความเป็นครอบครัว เช่น ใบทะเบียนสมรส ใบสูติบัตร หรือหนังสือรับรองจากสถานทูต (ฉบับจริง)
  15. แผนที่แสดงสถานที่ทำงานของผู้ยื่นคำขอ
  16. รูปถ่ายของบริษัทฯ ภายในบริษัทฯ ในรูปถ่ายต้องมีพนักงานนั่งปฏิบัติงาน จำนวน 4 รูป และภายนอกบริษัทฯ ต้องมีป้ายชื่อบริษัทฯ และสถานที่ตั้ง ของบริษัทฯ จำนวน 2 รูป
  17. เอกสารหรือหลักฐานอื่น ตามที่คณะกรรมการติดตามการปฏิบัติราชการของพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง ของ สตม.กำหนด (แบบ สตม.2)
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นพนักงานฝ่ายกงสุลหรือลูกจ้างฝ่ายกงสุล ซึ่งรัฐบาลต่างประเทศส่งเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในราชอาณาจักร หรือซึ่งเดินทางผ่านราชอาณาจักร เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ในประเทศอื่น และ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้นได้ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผขออยู่ต่อ
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นพนักงานฝ่ายกงสุลหรือลูกจ้างฝ่ายกงสุล ซึ่งรัฐบาลต่างประเทศส่งเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในราชอาณาจักร หรือซึ่งเดินทางผ่านราชอาณาจักร เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ในประเทศอื่น และ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้นได้ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผขออยู่ต่อ
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นบุคคลซึ่งรัฐบาลต่างประเทศโดยความเห็นชอบของรัฐบาลไทย ให้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร และ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทืางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจาก หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ได้ทำความตกลงที่รัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือดเทียบเท่า
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจในราชอาณาจักรเพื่อรัฐบาลไทย ตามความตกลงที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ และ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทืางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจากหรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้ รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ได้ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือดเทียบเท่า
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
  4. บันทึกความตกลงที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นหัวหน้าสำนักงานขององคืการ หรือทบวงการระหว่างประเทศที่มีกฎหมายคุ้มครองการดำเนินงานในประเทศไทย หรือซึ่งรัฐบาลไทยได้ให้ความเห็นชอบด้วยแล้ว หรือเป็นพนักงานหรือผู้เชี่ขวชาญหรือบุคคลหรือซึ่งองค์การ หรือ ทบวงการตามวรรคแรก แต่งตั้งหรือมอบหมายให้ปฎิบัติหน้าที่ หรือภารกิจในราชอาณาจักร เพื่อองค์การ หรือทบวงการดังกล่าว หรือเพื่อรัฐบาลไทยตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ทำไว้กบองค์การ หรือทบวงการระหว่างประเทศนั้น
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจากหรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ได้ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือดเทียบเท่า
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นหัวหน้าสำนักงานขององคืการ หรือทบวงการระหว่างประเทศที่มีกฎหมายคุ้มครองการดำเนินงานในประเทศไทย ครัวเรือนของบุคคในคณะผู้แทนทางทูต, พนักงานหรือลูกจ้างฝ่ายกงสุล, บุคคลซึ่งรัฐบาลต่างประเทศโดยความเห็นชอบของรัฐบาลไทยให้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร,บุคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร ตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ, หัวหน้าสำนักงานหรือพนักงาน หรือผู้เชี่ยวชาญ หรือบุคคลอื่น ซึ่งได้รับแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร ตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ทำไว้กับองค์การ หรือทบวงการระหว่างประเทศ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทืางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และ ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจากหรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นคนรับใช้ส่วตัวซึ่งเดินทืางจากต่างประเทศ เพื่อมาทำงานประจำเป็นปกติ ณ ที่พักอาศัยบองบุคคลในคณะผู้แทนทางทูต หรือ ณ ที่พักอาศัยของบุคคลซึ่งได้รับเอกสิทธิเท่าเทียมกันกับบุคคลซึ่งมีตำแหน่งทางทูตตามความตกลงที่รัฐบาลไทยไดทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ หรือกับองค์การ หรือทบวงการระหว่างประเทศ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทืางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และ ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจาก หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อขอตรวจสอบหรือติดต่อห้องกักซึ่งส่งกลับคนต่างด้าวมายัง กก.3 บก.สส.สตม2020-02-17T08:06:15+00:00
ขั้นตอนการดำเนินการขอทราบข้อมูลการเดินทางเข้า – ออกราชอาณาจักร ข้อมูลที่พักอาศัยของคนต่างด้าว2020-01-17T08:05:58+00:00
การแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สตม. และ แต่ละแห่งให้บริการเกี่ยวกับงานใดบ้าง2020-02-17T08:04:05+00:00
บก.ตม. 1

ให้บริการคนต่างด้าวที่พักอาศัยหรือประกอบกิจการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครยกเว้น ด่าน ตม.ท่าเรือกรุงเทพรับผิดชอบให้บริการเกี่ยวกับการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร การขอมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรงานเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมือง และปฏิบัติหน้าที่ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์และอื่นๆ ที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองรับผิดชอบในเขตกรุงเทพมหานครหรือตามที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติกำหนด

บก.ตม. 2

มีภารกิจในการตรวจบุคคลและพาหนะที่เดินทาง เข้า – ออก ราชอาณาจักร ทางท่าอากาศยาน 5 แห่ง

1.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
2.ท่าอากาศยานดอนเมือง
3.ท่าอากาศยานภูเก็ต
4.ท่าอากาศยานเชียงใหม่
5.ท่าอากาศยานหาดใหญ่

บก.ตม. 3

ตม.จว.กาญจนบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.กาญจนบุรี, ด่าน ตม.สังขละบุรี

ตม.จว.ชลบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.ชลบุรี, ด่าน ตม.พัทยา,ด่าน ตม.ศรีราชา,ด่าน ตม.สีชัง

ตม.จว.สระแก้ว รับผิดชอบพื้นที่ จว.สระแก้ว, ด่าน ตม.อรัญประเทศ

ตม.จว.ประจวบคีรีขันธ์ รับผิดชอบพื้นที่ จว.ประจวบคีรีขันธ์, จว.เพชรบุรี, ด่าน ตม.สิงขร

ตม.จว.สมุทรสาคร รับผิดชอบพื้นที่ จว.สมุทรสาคร , จว.สมุทรสงคราม

ตม.จว.ระยอง รับผิดชอบพื้นที่ จว.ระยอง

ตม.จว.นครปฐม รับผิดชอบพื้นที่ จว.นครปฐม , จว.ราชบุรี

ตม.จว.สมุทรปราการ รับผิดชอบพื้นที่ จว.สมุทรปราการ

ตม.จว.นนทบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.นนทบุรี

ตม.จว.ปทุมธานี รับผิดชอบพื้นที่ จว.ปทุมธานี

ตม.จว.ฉะเชิงเทรา รับผิดชอบพื้นที่ จว.ฉะเชิงเทรา ,จว.ปราจีนบุรี , จว.นครนายก

ตม.จว.พระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบพื้นที่ จว.พระนครศรีอยุธยา,จว.สุพรรณบุรี,จว.อ่างทอง

ตม.จว.จันทบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.จันทบุรี,ด่าน ตม.โป่งน้ำร้อน

ตม.จว.ตราด รับผิดชอบพื้นที่ จว.ตราด,ด่าน ตม.คลองใหญ่,ด่าน ตม.แหลมงอบ

ตม.จว.ลพบุรี รับผิดชอบพื้นที่ จว.ลพบุรี,จว.สระบุรี,จว.ชัยนาท,จว.สิงห์บุรี

ด่าน ตม.ท่าเรือกรุงเทพ รับผิดชอบพื้นที่บริเวณเขตท่าเรือกรุงเทพ(คลองเตย)

กองกำกับการ งานบริการคนต่างด้าว บก.ตม.3 รับผิดชอบพื้นที่ในสังกัด บก.ตม.3

บก.ตม. 4

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด มุกดาหาร
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.มุกดาหาร ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด ศรีสะเกษ
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.ศรีสะเกษ ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด สกลนคร
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.สกลนคร และ จว.กาฬสินธุ์ ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด บึงกาฬ
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.บึงกาฬ ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด เลย
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.เลย ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด ขอนแก่น
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.ขอนแก่น จว.ชัยภูมิ และ จว.มหาสารคาม ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด อุบลราชธานี
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.อุบลราชธานี ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด อำนาจเจริญ
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.อำนาจเจริญ , จว.ร้อยเอ็ด และ จว.ยโสธร ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด อุดรธานี
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.อุดรธานี และ จว.หนองบัวลำภู ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด นครพนม

เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.นครพนม ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด นครราชสีมา
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.นครราชสีมา , จว.บุรีรัมย์ และ จว.สุรินทร์ ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด หนองคาย
เขตพื้นที่รับผิดชอบคือ จว.หนองคาย ให้บริการเกี่ยวกับ
– งานอำนวยการ
– งานบริการคนต่างด้าว
– งานตรวจบุคคลและพาหนะ
– งานสืบสวนปราบปรามและส่งกลับ

บก.ตม. 5

ตม.จว.เชียงราย เขตพื้นที่รับผิดชอบ จว.พะเยา แบ่งเป็น

ด่าน ตม.แม่สาย

ด่าน ตม.เชียงแสน

ด่าน ตม.เชียงของ

ด่าน ทอ.แม่ฟ้าหลวง

ตม.จว.น่าน เขตพื้นที่รับผิดชอบ น่าน แพร่ อุตรดิตถ์

ตม.จว.เชียงใหม่ เขตพื้นที่รับผิดชอบ ลำพูน ลำปาง

ตม.จว.แม่ฮ่องสอน เขตพื้นที่รับผิดชอบ แม่ฮ่องสอน

ตม.จว.ตาก เขตพื้นที่รับผิดชอบ ตาก สุโขทัย

ตม.จว.พิษณุโลก เขตพื้นที่รับผิดชอบ พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์

ตม.จว.นครสวรรค์ เขตพื้นที่รับผิดชอบ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี

บก.ตม. 6

ตม.จว.นราธิวาส

รับผิดชอบพื้นที่ จว.นราธิวาส ให้บริการเกี่ยวกับงาน
1.งานอำนวยการ
2.งานตรวจบุคคลและพาหนะ
3.งานบริการคนเข้าเมือง
4.งานปราบปรามและส่งกลับ

ตม.จว.ภูเก็ต

รับผิดชอบพื้นที่ จว.ภูเก็ต ให้บริการเกี่ยวกับงาน
1.งานบริการขออยู่ต่อ
2.งานตรวจบุคคลและพาหนะ
3.งานสืบสวนปราบปราม

ตม.จว.สงขลา

1.ด่าน ตม.สะเดา มีภารกิจ ตรวจอนุญาตบุคคลเดินทางเข้า-ออก
ณ. ช่องทางอนุญาต เส้นทางคมนาคมจากพรมแดน ถึงที่ตั้ง ตม.สะเดา

2.ด่าน ตม.ปาดังเบซาร์ มีภารกิจ ตรวจอนุญาตบุคคลเดินทางเข้า-ออก
ณ. ช่องทางอนุญาต เส้นทางคมนาคมจากพรมแดน ถึงที่ตั้ง ตม.ปาดังเบซาร์
และเส้นทางคมนาคมทางรถไฟจากพรมแดนถึงหน้าสถานีปาดังเบซาร์

3.ด่าน ตม.ท่าเรือ มีภารกิจ ตรวจอนุญาตบุคคลเดินทางเข้า-ออก
ณ.ช่องทางอนุญาตบริเวณท่าเรือน้ำลึก และบริเวณเขตท่าเรือเดินเรือไทย

4.ด่าน ตม.บ้านประกอบ มีภารกิจ ตรวจอนุญาตบุคคลเดินทางเข้า-ออก
ณ. ช่องทางอนุญาต เส้นทางคมนาคมจากพรมแดน ถึงที่ตั้ง ตม.บ้านประกอบ

ตม.จว.สตูล

1.ตม.จว.สตูล รับผิดชอบพื้นที่ จว.สตูล , ตรัง, และ พัทลุง
ให้บริการเกี่ยวกับงานขออยู่ต่อทั้งระยะสั้นและระยะยาว,
งานขออนุญาตเพื่อกลับเข้าในราชอาณาจักร,งานแจ้งที่พักอาศัย,
งานแจ้งการอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน

2.ด่าน ตม.สตูล(ท่าเรือตำมะลัง)
ให้บริการเกี่ยวกับการตรวจบุคคลและพาหนะที่เดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักร
และงานตรวจลงตรา(VISA ON ARRIVAL)

3.ด่าน ตม.ควนโดน
ให้บริการเกี่ยวกับการตรวจบุคคลและพาหนะ ที่เดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักร

4.ด่าน ตม.กันตัง
ให้บริการเกี่ยวกับงานขออยู่ต่อทั้งระยะสั้นและระยะยาว,
งานขออนุญาตเพื่อกลับเข้าในราชอาณาจักร,งานแจ้งที่พักอาศัย,
งานแจ้งการอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน ,
การตรวจลงตรา(NON-QUOTA)งานตรวจบุคคลพาหนะ และงานประกันลูกเรือ

ตม.จว.สุราษฎร์ธานี
รับผิดชอบพื้นที่ จว.สุราษฎร์ธานี ให้บริการในงานด้านต่างๆดังนี้
1.งานตรวจบุคคลและพาหนะทางน้ำและอากาศ
2.งานบริการคนเข้าเมือง(ขออยู่ต่อ,Re-Entry และรับแจ้งอยู่เกิน 90 วัน)
3.งานสืบสวนปราบรามตามกฎหมาย
4.บุคคลต้องห้าม(ส่งกลับผลักดันคนต่างด้าวผิดกฎหมาย)

ตม.จว.กระบี่
รับผิดชอบพื้นที่ จว.พังงา ให้บริการเกี่ยวกับงานดังต่อไปนี้
1. งานบริการขออยู่ต่อระยะสั้น และระยะยาว
2. งานตรวจบุคคลเดินทางเข้า – ออก ราชอาณาจักรทางน้ำ และทางอากาศ
3. งานบุคคลต้องห้าม
4. งานรับแจ้งที่พัก

ตม.จว.พังงา ตม.จว.พังงา
รับผิดชอบพื้นที่ จว.พังงา ให้บริการเกี่ยวกับงานดังต่อไปนี้
1.งานบริการขออยู่ต่อ
2.งานรายงานตัวของคนต่างด้าวและรับแจ้งที่พักอาศัยของแรงงาน
3.งานพลักดันส่งกลับ
4.งานสืบสวนปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมายคนเข้าเมือง

ตม.จว.นครศรีธรรมราช
รับผิดชอบพื้นที่ จว.นครศรีธรรมราช ให้บริการเกี่ยวกับงานดังต่อไปนี้
1.งานบริการคนเข้าเมือง , ขออยู่ต่อ Re-Entry ,
งานสลักหลังแจ้งออก,งานตรวจพาหนะทางน้ำ, งานรับแจ้งที่พักอาศัยของคนต่างด้าว
2.งานสืบสวนปราบปรามบุคคลต่างด้าวผิดกฎหมาย และงานรับแจ้งอยู่เกิน 90 วัน

ตม.จว.ปัตตานี
รับผิดชอบพื้นที่ จว.ปัตตานี ให้บริการเกี่ยวกับงานดังต่อไปนี้
1.การอนุญาตสิ้นสุด แจ้งที่พักอาศัย และรายงานตัวอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน
2.การอนุญาตอยู่ต่อชั่วคราว
3.การอนุญาตเพื่อกลับเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรอีก

ตม.จว.ยะลา
รับผิดชอบพื้นที่ จว.ยะลา มีหน้าที่ในการปฏิบัติงาน 4 ด้าน

1.ตรวจอนุญาต
2.บริการคนต่างด้าว
3.ป้องกันปราบปราม
4.ธุรการ อำนวยการ

ตม.จว.ระนอง
รับผิดชอบพื้นที่ จว.ระนอง และ จว.ชุมพร มีหน้าที่รับผิดชอบในงานดังต่อไปนี้

1.งานอำนวยการ
2.งานบริการคนต่างด้าว
3.งานสืบสวน ปราบปราม และส่งกลับ
4.งานตรวจบุคคลและยานพาหนะ
5.งานพิสูจน์สัญชาติ

เปลี่ยนวัตถุประสงค์ในการขออยู่ต่อ2020-01-17T08:03:03+00:00
การขอมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน และการแปลงสัญชาติ2020-02-24T05:08:27+00:00

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขประกอบการพิจารณาอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
คำแนะนำ และรายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร (ในโควตาประจำปี )
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเป็นผู้เชี่ยวชาญ (ธันวาคม 2552)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อการลงทุน (ธันวาคม 2552)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อมาทำงาน (ธันวาคม 2552)
เอกสารประกอบการขอมีถิ่นที่อยู่ฯ ประเภทเข้ามาเพื่อเหตุผลทางมนุษยธรรม (ธันวาคม 2552)

อัตราค่าปรับกรณีคนต่างด้าวอยู่เกินกำหนดที่ได้รับอนุญาต2020-02-24T04:21:30+00:00

เรื่องมอบอำนาจให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการเปรียบเทียบ
ให้ดำเนินการเปรียบเทียบปรับตามจำนวนวันที่คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรโดยการอนุญาต
สิ้นสุดหรือถูกเพิกถอน วันละ 500 บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วไม่เกิน 20,000 บาท

[pdf-embedder url=”/wp-content/uploads/2020/01/overstayfine49-1.pdf” title=”overstayfine49″]

การแจ้งพ้นหน้าที่ของคนต่างด้าว2020-01-17T07:46:27+00:00
ขั้นตอนการรายงานตัว การแจ้งอยู่เกิน 90 วัน Re – entry permit และเอกสารที่ต้องใช้สำหรับแรงงานต่างด้าว2020-02-24T04:22:24+00:00

[pdf-embedder url=”/wp-content/uploads/2020/01/90daysreport-1.pdf” title=”90daysreport”]

เวลาทำการของแต่ละหน่วย ตม.จว.ด่าน ตม. ต่างๆ และช่องทางอนุญาตของด่านพรมแดนมาเลเซีย พม่า ลาว และกัมพูชา2020-01-17T07:39:20+00:00

บก.ตม. 1

บก.ตม. 2

บก.ตม. 3

กาญจนบุรี ตม.จว.กาญจนบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่อนปรนบ้านเจดีย์สามองค์ ทุกวัน 06.00-18.00
จุดตรวจถาวรไทรโยค ทุกวัน 24 ชม.
จุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน้ำร้อน ทุกวัน 06.00-18.00
ชลบุรี ตม.จว.ชลบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่านพัทยา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่านศรีราชา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดตรวจแหลมฉบัง ทุกวัน 24 ชม.
สระแก้ว ตม.จว.สระแก้ว จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่านแดนถาวรบ้านเขาดิน ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่อนปรนเพื่อการค้าบ้านหนองปรือ ทุกวัน 09.00-17.00
จุดผ่อนปรนเพื่อการค้าบ้านตาพระยา ทุกวัน 09.00-17.00
ประจวบคีรีขันธ์ ตม.จว.ประจวบคีรีขันธ์ (อ.หัวหิน) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่อนปรนทางการค้าชายแดน ด่านสิงขร ทุกวัน 06.30-18.00
สมุทรสาคร ตม.จว.สมุทรสาคร จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตม.กระทุ่มแบน จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ระยอง ตม.จว.ระยอง (ตม.มาบตะพุด) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตม.ทอ.อู่ตะเภา ทุกวัน 24 ชม.
นครปฐม ตม.จว.นครปฐม จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
สมุทรปราการ ตม.จว.สมุทรปราการ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
นนทบุรี ตม.จว.นนทบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ปทุมธานี ตม.จว.ปทุมธานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ฉะเชิงเทรา ตม.จว.ฉะเชิงเทรา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
พระนครศรีอยุธยา ตม.จว.พระนครศรีอยุธยา จันทร์-ศุกร์ ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐
จันทบุรี ตม.จว.จันทบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-163.0
จุดตรวจถาวรบ้านแหลม ทุกวัน 06.00-22.00
จุดตรวจถาวรบ้านผักกาด ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่อนปรนบ้านซับตารี ทุกวัน 07.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านสวนส้ม ทุกวัน 07.00-18.00
ตราด ตม.จว.ตราด (คลองใหญ่) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตม.จว.ตราด (แหลมงอบ) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรบ้านหาดเล็ก ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่อนปรนทางการค้าบ้านมะม่วง ทุกวัน 06.00-22.00
จุดตรวจบุคคลและพาหนะทางน้ำบ้านคลองสน ทุกวัน 24 ชม.
ตม.ทอ.ตราด ทุกวัน ขึ้นอยู่กับสายการบิน
ลพบุรี ตม.จว.ลพบุรี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตม3 ด่าน ตม.ท่าเรือกรุงเทพ จันทร์-ศุกร์ 09.00-17.00
ตม3 กก.บคด.บก.ตม.3 จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30

บก.ตม. 4

นครราชสีมา ตม.จว.นครราชสีมา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
มุกดาหาร ตม.จว.มุกดาหาร จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่2 ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่านแดนถาวรจุดตรวจท่าเทียบเรือเทศบาลเมืองมุกดาหาร ทุกวัน 06.00-20.00
หนองคาย ตม.จว.หนองคาย จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรจุดตรวจสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่1 ทุกวัน 06.00-22.00
จุดผ่านแดนถาวรท่าเรือหนองคาย(ด่านท่าเสด็จ) ปิดไปแล้ว
จุดผ่อนปรนบ้านเปงจาน อาทิตย์ พุธ 08.00-16.30
จุดผ่อนปรนบ้านจุมพล อังคาร เสาร์ 08.00-16.30
จุดผ่อนปรนบ้านม่วง พุธ เสาร์ 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านหม้อ อ.ศรีเชียงใหม่ อัง พฤ เสาร์ 06.00-17.00
บึงกาฬ ตม.จว.บึงกาฬ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรจุดตรวจท่าเเพขนาน ทุกวัน 06.00-18.00
จุดตรวจท่าเรือ ตม.จว.หนองคาย ทุกวัน 08.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านบุ่งคล้า
จุดผ่อนปรนบ้านห้วยคาด
อุบลราชธานี ตม.จว.อุบลราชธานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก อ.สิรินธร ทุกวัน 06.00-20.00
จุดผ่านแดนถาวรบ้านปากแซง ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนหน้าที่ว่าการเขมราฐ ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านสองคอน
จุดผ่อนปรนบ้านด่านเก่า
จุดผ่อนปรนบ้านหนองแสง
นครพนม ตม.จว.นครพนม จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวร ท่าเทียบเรือเทศบาล ทุกวัน 06.00-18.00
จุดตรวจสะพานมิตรภาพ 3 ทุกวัน 06.00-22.00
อำนาจเจริญ ตม.จว.อำนาจเจริญ พุธ-อาทิตย์ 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนการค้าบ้านยักษ์คุ
ขอนแก่น ตม.จว.ขอนแก่น จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
อุดรธานี ตม.จว.อุดรธานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
สกลนคร ตม.จว.สกลนคร จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
เลย ด่าน ตม.ท่าลี่ ทุกวัน 08.00-18.00
ตม.เชียงคาน ทุกวัน 08.00-18.00
ตม.คกไผ่ ทุกวัน 08.00-18.00
ศรีษะเกษ จุดผ่านแดนถาวรช่องสะงำ ทุกวัน 7.00-20.00

บก.ตม. 5

เชียงใหม่ ตม.จว.เชียงใหม่ จันทร์-ศุกร์ 07.00-16.30
จุดผ่อนปรนช่องทางกิ่วผาวอก ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนช่องทางหลักแต่ง ทุกวัน 06.00-18.00
เชียงราย ตม.จว.เชียงราย จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพ ไทย – พม่า ด่าน ตม.แม่สาย(สายที่1) ทุกวัน 06.30-21.30
จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพ ไทย – พม่า ด่าน ตม.แม่สาย (สายที่2) ทุกวัน 06.30-21.30
จุดผ่อนปรน ท่าบ้านปางห้า อ.แม่สาย ทุกวัน 06.30-18.30
จุดผ่อนปรนท่าบ้านสายลมจอย อ.แม่สาย ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนท่าดินดำบ.ป่าแดง ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านแจ่มป๋อง ทุกวัน 06.00-18.00
จุดผ่อนปรนบ้านห้วยลึก ทุกวัน 06.30-18.30
พะเยา จุดผ่อนปรน ต.ภูซาง ทุกวัน 06.00-18.00
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง ทุกวัน
ตาก ตม.จว.ตาก (ตม.แม่สอด) จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวร จุดตรวจสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร์ ทุกวัน 06.30-18.30
น่าน ตม.จว.น่าน จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรบ้านห้วยโก๋น บ.ห้วยโก๋น ทุกวัน 08.00-20.00
จุดผ่อนปรนบ้านห้วยสะแตง อ.ทุ่งช้าง (ไม่มี จนท.ทำการเฉพาะ)
จุดผ่อนปรนบ้านใหม่ชายแดน (ไม่มี จนท.ทำการเฉพาะ)
อุตรดิตถ์ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ทุกวัน 08.00-20.00
แม่ฮ่องสอน ตม.จว.เเม่ฮ่องสอน จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่อนปรน ช่องทางบ้านห้วยต้นนุ่น
จุดผ่อนปรนช่องทางบ้านห้วยผึ้ง
จุดผ่อนปรนบ้านน้ำเพียงดิน
พิษณุโลก ตม.จว.พิษณุโลก จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
นครสวรรค์ ตม.จว.นครสวรรค์ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30

 

บก.ตม. 6

กระบี่ ตม.จว.กระบี่ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ทอ.กระบี่ ทุกวัน 24 ชั่วโมง
ท่าเทียบเรือเกาะลันตา ทุกวัน 24 ชั่วโมง
ท่าเทียบเรือเจ้าฟ้า ทุกวัน 24 ชั่วโมง
ท่าเทียบเรือไสไทย ทุกวัน 24 ชั่วโมง
นราธิวาส ตม.จว.นราธิวาส จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดผ่านแดนถาวรสุไหง โกลก ทุกวัน 05.00-18.00
จุดผ่านแดนถาวรตากใบ ทุกวัน 05.00-18.00
จุดผ่านแดนถาวรบูเก๊ะตา ทุกวัน 05.00-18.00
ทอ.นราธิวาส ทุกวัน ขึ้นอยู่กับ International flight
ภูเก็ต ตม.จว.ภูเก็ต จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ตรัง ตม.จว.ตรัง จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่าน ตม.กันตัง จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
สุราษฎร์ธานี ตม.จว.สุราษฎร์ธานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
สนามบินสมุย ทุกวัน 05.00-22.00
พังงา ตม.จว.พังงา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
นครศรีธรรมราช ตม.จว.นครศรีธรรมราช จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ช่องตรวจพาหนะทางน้ำ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ปัตตานี ตม.จว.ปัตตานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ท่าเทียบเรือปัตตานี จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ยะลา ตม.จว.ยะลา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ระนอง ตม.จว.ระนอง จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
จุดตรวจบริเวณปากน้ำระนอง ทุกวัน 06.30-24.00
จุดตรวจบริเวณท่าเรือสะพานปลา ทุกวัน 06.30-24.00
จุดตรวจบริเวณท่าเทียบเรือของบริษัทอันดามันจำกัด ทุกวัน 06.30-24.00
สตูล ตม.จว.สตูล จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่าน ตม.สตูล (ท่าเรือตำมะลัง) ทุกวัน 05.00-18.00
ด่าน ตม.ควนโดน ทุกวัน 05.00-18.00
สงขลา ตม.จว.สงขลา จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30
ด่าน ตม.สะเดา ทุกวัน 05.00-23.00
ด่าน ตม.ปะดังเบซาร์ ทุกวัน 05.00-21.00
ด่าน ตม.ท่าเรือสงขลา ทุกวัน 24 ชั่วโมง
ด่าน ตม.บ้านประกอบ ทุกวัน 07.00-17.00
การเปลี่ยนเล่มหนังสือเดินทางกรณีสูญหาย หมดอายุ และหมดหน้าตราประทับ2020-01-17T07:34:43+00:00

เอกสารประกอบ
1. แบบคำขอ
2. สำเนาหนังสือแจ้งความจากสถานีตำรวจ
3. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มเก่าที่มีรูปถ่าย (ถ้ามี)
4. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มใหม่
5. หนังสือจากสถานทูตถึงสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองขอความร่วมมือ
ให้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองสำเนาตราเข้าในหนังสือเดินทางเล่มใหม่ให้กับคน ต่างด้าวนั้น
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
1. ให้คนต่างด้าวพบเจ้าหน้าที่ ที่เคาน์เตอร์บริการงานเปลี่ยนเล่มหนังสือเดินทาง
กองกำกับการ 2 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 เพื่อยื่นคำร้อง และกรอกข้อมูล รายละเอียด
เช่น ชื่อ สกุล เลขที่หนังสือเดินทาง วันเดือนปี ที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร และเที่ยวบิน
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบรายละเอียดของคำขอและตรวจสอบความถูกต้อง
ความสมบูรณ์ของหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางเล่มใหม่
และจะต้องมีใบแจ้งความร้องทุกข์
3. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานการเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
4. เมื่อพบข้อมูลการเข้ามาในราชอาณาจักรโดยถูกต้องก็จะดำเนินการสำเนาตราขาเข้าให้กับคนต่างด้าวต่อไป
5. กรณีคนต่างด้าวมีการยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรหรือมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
ให้ไปพบเจ้าหน้าที่ยังแผนกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจลง ตรา หรือ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
แล้วแต่กรณีเพื่อสำเนาตราอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเพื่อรอฟังผลการพิจารณา
ให้อยู่ต่อหรือรอฟังผลการพิจารณาคำขอเพื่อมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร.0-2141-7884
หมายเหตุ กรณีเคยมีการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร สามารถติดต่อยื่นคำร้องที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองที่ยื่นคำร้องขออยู่ต่อในราชอาณาจักรครั้งล่าสุด

รายชื่อประเทศที่ได้รับการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการท่องเที่ยว2020-02-24T04:24:26+00:00

[pdf-embedder url=”/wp-content/uploads/2020/01/visaexempt.pdf” title=”visaexempt”]

การแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน2020-02-24T04:27:03+00:00

คนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวแล้ว ถ้าอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน
คนต่างด้าวผู้นั้นมีหน้าที่ต้องรายงานตัวแจ้งที่พักอาศัยต่อพนักงานสำนักงาน ตรวจคนเข้าเมือง ทุก 90 วัน
หากท้องที่ใดมีที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองตั้งอยู่จะแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทำการแห่งนั้นก็ได้
ทั้งนี้ เป็นไปตาม มาตรา 37(5) แห่ง พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522

ดูรายละเอียด
การสลักหลังแจ้งออกไปนอกราชอาณาจักรและกลับเข้ามาอีก2020-02-17T06:58:14+00:00

เอกสารประกอบที่ต้องใช้
1. แบบฟอร์ม ตม.13
2. หนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทาง
3. ใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบแทนใบสำคัญถิ่นที่อยู่
4. ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวที่สมบูรณ์(ต่ออายุเรียบร้อย)
5. รูปถ่ายครึ่งตัวหน้าตรง ไม่สวมหมวก ขนาด 4×6 เซนติเมตร ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 1 รูป
6. ค่าธรรมเนียม 1,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินการ ภายใน 30 นาที
หมายเหตุ กองกำกับการ 1 (งานใบสำคัญถิ่นที่อยู่)
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารบี ชั้น 2
120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่
กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0-2141-7869 โทรสาร 0-2143-8226

การขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา2020-02-17T06:54:33+00:00

(อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้)

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)

2.สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)

3.รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป

4.ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท

5.หนังสือชี้แจงเหตุผลความจำเป็นการจ้างงานคนต่างด้าว และขอความร่วมมือในการขอรับ หรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (มีชื่อ, ตำแหน่ง, ความรู้ความสามารถและขอเปลี่ยน วีซ่าจาก ผ.30 หรือ TR เป็น NON-B) (เรื่อง ขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา/เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)

6.หนังสือรับรองการจ้าง (ตามแบบของกรมการจัดหางาน)

7.สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (แสดงฉบับจริง)

8.สำเนาใบสำคัญการจดทะเบียนนิติบุคคล (แสดงฉบับจริง)

9.สำเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (ภพ.01 + หนังสือบริคณห์สนธิการเพิ่มทุน) (แสดงฉบับจริง)

10.สำเนางบดุลบัญชีกำไรขาดทุนปีล่าสุด รับรองจากกระทรวงพาณิชย์ หรือกรมสรรพากร (กรณียื่นฉบับสำเนาต้องให้กรรมการลงนามและประทับตราบริษัท/หจก. ทุกฉบับ)

11.สำเนารายการภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50) รับรองจากกระทรวงพาณิชย์หรือกรมสรรพากร (กรณียื่นฉบับสำเนาต้องให้กรรมการลงนามและประทับตราบริษัท/หจก. ทุกฉบับ)

12.สำเนาหลักฐานการศึกษาและหลักฐานการผ่านงานของคนต่างด้าว ผ่านการรับรองจากสถานทูตและ กองนิติกรณ์ กระทรวงการต่างประเทศ
(0-2575-1056-9)

13.สำเนารายการภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดาของพนักงานคนไทย (ภ.ง.ด.1)(ย้อนหลัง 3 เดือน พร้อมแนบรายชื่อพนักงานคนไทยทั้งหมด)

14.หนังสือขอความร่วมมือจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, การนิคมอุตสาหกรรมหรือการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (กรณีได้รับการส่งเสริม BOI)

15.แสดงรูปภาพของบริษัทถ่ายให้เห็นอาคาร ป้ายชื่อบริษัท สภาพการทำงานที่มีพนักงานกำลังปฏิบัติงาน, โต๊ะทำงานภายในบริษัท หรือ อาคาร หรือโกดัง ซึ่งแสดงให้เห็นลักษณะงาน 6 – 7 ภาพ

16.หากใน ภ.ง.ด.50 (หน้า 5 บรรทัดที่3 ) ไม่มีค่าน้ำ ค่าไฟ ให้แสดงสัญญาเช่า บิลน้ำมัน ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์

17.แผนที่บริษัท

หมายเหตุ

1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. เอกสารของบริษัทฯ หรือห้างฯ กรรมการผู้มีอำนาจตามหนังสือรับรองการจดทะเบียน หรือ หุ้นส่วนผู้จัดการลงนามรับรองทุกหน้าทุกแผ่นแล้วประทับตราบริษัทฯ หรือห้างฯ เป็นสำคัญ
3. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบและยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
4. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร. 0-2141-9902-3

อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. หนังสือจากส่วนราชการระดับกรมเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (เรียน ผูับัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6. หนังสือจากมูลนิธิขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (เรียน ผูับัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
7. ใบอนุญาตจัดตั้งมูลนิธิ
8. สำเนารายงานการประชุมมูลนิธิ

หมายเหตุ

1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบและ ยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3

อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. – หลักฐานการเป็นบิดา มารดา บุตร หรือสูติบัตร (รับรองจากสถานทูตของคนต่างด้าวในประเทศไทย และ กองนิติกรณ์ (02-5751056-9) กระทรวงการต่างประเทศ) หรือ
   – หนังสือรับรองจากส่วนราชการสถานทูต หรือสถานกงสุล แสดงว่าเป็นส่วนแห่งครัวเรือน หนังสือรับรองจาก กรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ
6. หนังสือรับรองยอดเงินฝากจากธนาคารในประเทศไทย พร้อมสำเนาบัญชีเงินฝากประจำ หรือ ออมทรัพย์ไม่น้อยกว่า 500,000 บาท พร้อมหลักฐานการโอนเงินเข้ามาจากต่างประเทศ
7. หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจ ลงตราจากครูใหญ่ หรือผู้จัดการหรือผู้อำนวยการ ว่าบุตรกำลังศึกษาอยู่ (โปรดระบุชื่อทั้งผู้ยื่นคำร้องและผู้ให้ติดตามด้วย)
8. หนังสือเดินทางของบุตร (สำเนาหน้าที่มีประวัติข้อมูล , ตราประทับอนุญาตครั้งล่าสุด , บัตร ตม.6)

หมายเหตุ

1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3

(อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้)

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist Visa และ Transit Visa) หรือ แบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา(แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ ผผ.90 เฉพาะคนต่างงด้าวที่ไม่มีวีซ่า)

2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)

3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป

4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท

5. ระดับอุดมศึกษาหรือระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาในสถานบันของรัฐ
5.1 หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากอธิการบดีในสถาบันอุดมศึกษา (เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
5.2 หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากส่วนราชการระดับกรมในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือผู้ว่าราชการจังหวัดในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาหรือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
5.3 สำเนาคุณวุฒิการศึกษาของผู้ยื่นคำขอ (พร้อมสำเนาใบเสร็จค่าเทอมล่าสุด)

6.ระดับอุดมศึกษาและต่ำกว่าอุดมศึกษาในสถาบันของเอกชน
6.1  หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากอธิการบดีในสถาบันอุดมศึกษา (เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6.2  หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากส่วนราชการระดับกรมในสังกัด  กระทรวงศึกษาธิการหรือผู้ว่าราชการจังหวัดในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา หรือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (เรียน ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6.3 หนังสือรับรองการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราจากครูใหญ่ หรือผู้จัดการ (นานาชาติ)
6.4 สำเนาใบอนุญาตให้จัดตั้งสถานศึกษา (พร้อมรับรองสำเนา)
6.5 สำเนาใบอนุญาตให้เป็นผู้บริหารของสถานศึกษา (พร้อมรับรองสำเนา)
6.6 สำเนาคุณวุฒิการศึกษาของผู้ยื่นคำขอ

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. เอกสารของสถาบันมหาวิทยาลัย , โรงเรียนเอกชน ให้ผู้มีอำนาจในการรับรองลงนามรับรองทุกหน้าทุกแผ่นแล้วประทับตราเป็นสำคัญ
3. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
4. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร. 0 2141 9902-3

ต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน อนุญาตไม่เกิน 90 วัน

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. หลักฐานการโอนเงินเข้าสู่ประเทศไทยไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท
6. มีหลักฐานการลงทุนโดยการซื้อ หรือเช่า (ระยะเวลาไม่น้อยกว่า3 ปี) ห้องชุดในอาคารชุดในอาคารชุดจากหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในราคาซื้อหรือเช่าไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท หรือ
7. มีหลักฐานการลงทุนโดยการฝากเงินประจำกับธนาคารที่จดทะเบียนในประเทศไทย ซึ่งมีผู้ถือหุ้นเป็นคนสัญชาติไทยเกินกว่าร้อยละ 50 ไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท หรือ
8. มีหลักฐานการลงทุนโดยการซื้อพันธบัตรของทางราชการหรือของรัฐวิสาหกิจไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท หรือ
9. มีหลักฐานการลงทุนรวมกันตาม (6),(7) หรือ (8) ไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท

หมายเหตุ
1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสาร เพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร. 0-2141-9902-3

อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist Visa และ Transit Visa) หรือ แบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา(แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ ผผ.90 เฉพาะคนต่างงด้าวที่ไม่มีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. สำเนาหนังสือเดินทาง และสำเนาใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าวที่ผู้ยื่นคำขอต้องการมาพำนักอยู่ด้วย
6. หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลพร้อมวัตถุประสงค์
7. ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
8. บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
9. สำเนาหลักฐานการเป็นบิดา มารดา บุตร ใบสำคัญการสมรส หรือสูติบัตร (รับรองจากสถานทูตของคนต่างด้าวในประเทศไทย และ กองนิติกรณ์ (02-5751056-9) กระทรวงการต่างประเทศ)
หรือ หนังสือรับรองจากส่วนราชการสถานทูต หรือสถานกงสุล แสดงว่าเป็นส่วนแห่งครัวเรือน หนังสือรับรองจาก กรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ
10. สำเนารายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของพนักงานคนไทย (ภ.ง.ด.1)  ย้อนหลัง 3 เดือน พร้อมแนบรายชื่อทั้งหมดของพนักงานคนไทย
11. สำเนารายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของคนต่างด้าว (ภ.ง.ด.91) ปีล่าสุด

หมายเหตุ
  1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
  2. เอกสารของบริษัทฯ หรือห้างฯ กรรมการผู้มีอำนาจตามหนังสือรับรองการจดทะเบียน หรือ หุ้นส่วนผู้จัดการลงนามรับรอง ทุกหน้าทุกแผ่น แล้วประทับตราบริษัทฯ หรือห้างฯ เป็นสำคัญ
  3. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริง   ทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
  4. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141 9902-3

อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist Visa และ Transit Visa) หรือ แบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา(แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ ผผ.90 เฉพาะคนต่างงด้าวที่ไม่มีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. สำเนาหนังสือเดินทาง และใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าวที่ผู้ยื่นคำขอต้องการมาพำนักอยู่ด้วย
6. สำเนาใบอนุญาตให้จัดตั้งสถานศึกษา (พร้อมรับรองสำเนา)
7. สำเนาใบอนุญาตให้เป็นผู้บริหารสถานศึกษา (พร้อมรับรองสำเนา)
8. หนังสือรับรองการทำงานจากโรงเรียน (โปรดระบุชื่อทั้งผู้ยื่นคำขอและผู้ให้ติดตามด้วย)
9. สำเนาหลักฐานการเป็นบิดา มารดา บุตร ใบสำคัญการสมรส หรือสูติบัตร (รับรองจากสถานทูตของคนต่างด้าวในประเทศไทย และ กองนิติกรณ์ (02-5751056-9) กระทรวงการต่างประเทศ) หรือหนังสือรับรองจากส่วนราชการสถานทูต หรือสถานกงสุล แสดงว่าเป็นส่วนแห่งครัวเรือน หนังสือรับรองจากกรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ
10. สำเนารายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของพนักงานคนไทย (ภ.ง.ด.1)  ย้อนหลัง 3 เดือน พร้อมรายชื่อทั้งหมดของพนักงานคนไทย
11. สำเนารายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของคนต่างด้าว (ภ.ง.ด.91) ปีล่าสุด

หมายเหตุ
  1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
  2. เอกสารของบริษัทฯ หรือห้างฯ กรรมการผู้มีอำนาจตามหนังสือรับรองการจดทะเบียน หรือ หุ้นส่วนผู้จัดการลงนามรับรอง  ทุกหน้าทุกแผ่น แล้วประทับตราบริษัทฯ หรือห้างฯ เป็นสำคัญ
  3. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริง  ทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบและดำเนินการ
  4. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141 9902-3

อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา  
(แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. หนังสือจากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติไทยขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (เรียน ผูับัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6. หนังสือรับรองการพำนักอาศัยอยู่ประจำวัดจากเจ้าอาวาสวัด
7. ใบสุทธิ (หากเป็นภาษต่างประเทศต้องแปลเป็นภาษาไทย และรับรองการแปลโดยเจ้าอาวาสวัดที่พำนักอยู่)

หมายเหตุ

1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3

อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5.
5.1.หนังสือรับรองยอดเงินฝากจากธนาคารในประเทศไทย
5.2.สำเนาบัญชีเงินฝากประจำ หรือ ออมทรัพย์ไม่น้อยกว่า 800,000 บาท (หน้าที่ระบุชื่อและจำนวนเงิน พร้อมแสดงสมุดธนาคารฉบับจริง)
5.3. หลักฐานการโอนเงินเข้ามาจากต่างประเทศ 
6. หนังสือรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุล เพื่อแสดงว่าเป็นผู้มีบำนาญไม่น้อยกว่าเดือนละ  65,000 บาท
7. หลักฐานเงินฝาก ตามข้อ 5 และหลักฐานเงินได้ ตามข้อ 6 (จำนวน 1ปี) รวมกันได้ไม่น้อยกว่า  800,000 บาท

หมายเหตุ

1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3

อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. บัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของบุคคลสัญชาติไทย หรือใบสำคัญถิ่นที่อยู่, ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว, ใบอนุญาตทำงาน และสำเนาทะเบียนบ้านของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่
6. – หลักฐานการเป็นบิดา มารดา บุตร  ทะเบียนการสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3) หรือสูติบัตรกรณีจดทะเบียนสมรสในต่างประเทศ แสดงทะเบียน  สมรสในต่างประเทศที่ผ่านการรับรองจาก สถานทูตและกระทรวงการต่างประเทศ  พร้อมทั้งแสดงทะเบียนฐานะความเป็นครอบครัว (คร.22)  หรือ
– หนังสือรับรองจากส่วนราชการ สถานทูต หรือสถานกงสุล แสดงว่าเป็นส่วนแห่งครัวเรือน (รับรองจากกองนิติกรณ์ (02-5751056-9) กระทรวงการต่างประเทศ)
7. หนังสือรับรองความเป็นโสดของคนต่างด้าว
8. แสดงหลักฐานการมีรายได้ของคนต่างด้าว (กรณีสามีเป็นคนต่างด้าว) เดือนละไม่น้อยกว่า 40,000 บาท รับรองจากสถานทูตหรือสถานกงสุล หรือบัญชีเงินฝากไม่น้อยกว่า 400,000 บาท พร้อมหนังสือรับรองยอดเงินฝากจากธนาคาร
9. กรณีสามีเป็นคนไทยแสดงหนังสือรับรองการทำงาน
10. ภาพถ่ายในพิธีมงคลสมรส หรือภาพถ่ายครอบครัว ประมาณ 4 รูป

หมายเหตุ

1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3

อนุญาตไม่เกิน 90 วัน โดยต้องมีระยะเวลาเหลืออยู่ไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าอยู่เกินไม่สามารถยื่นคำร้องได้

1. แบบคำร้องขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (แบบ ตม.86 เฉพาะคนต่างด้าวที่มี Tourist  Visa และ Transit Visa) หรือแบบคำร้องขอรับการตรวจลงตรา   (แบบ ตม.87 เฉพาะ ผ.15, ผ.30,ผผ.30 และ  ผผ.90 เฉพาะคนต่างด้าวที่ไมีมีวีซ่า)
2. สำเนาหนังสือเดินทาง (ถ่ายเอกสารหน้าที่มีข้อมูลส่วนตัว , รอยการตรวจลงตรา , ตราขาเข้า , รอยตราอนุญาตการขออยู่ต่อฯ(ถ้ามี) , บัตร ตม.6)
3. รูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซ.ม. หรือขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
5. หนังสือจากส่วนราชการระดับกรมหรือจากนายกสมาคม   ร้องขอในเรื่องการขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (เรียน ผูับัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง)
6. ใบอนุญาตจัดตั้งสมาคม

หมายเหตุ

1. เอกสารของผู้ยื่นคำขอ ให้ผู้ยื่นคำขอลงนามรับรองทุกแผ่นทุกหน้า
2. ในการยื่นเอกสารเพื่อขอรับหรือขอเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา กรุณานำเอกสารมายื่นให้ครบ และยื่นเอกสารฉบับจริงทุกฉบับต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินการ
3. หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อสอบถาม โทร.0 2141-9902-3

ขั้นตอนการดำเนินการ หลักเกณฑ์เงื่อนไขและเอกสารที่ใช้ประกอบการขออยู่ต่อในราชอาณาจักรแต่ละประเภท2023-11-24T07:48:33+00:00
 
หลักเกณฑ์การพิจารณา

1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว

2. คนต่างด้าวต้องมีเงินได้ตามตารางเงินได้แนบท้ายคำสั่งนี้ (ผนวก ก)

3. ต้องเป็นธุรกิจซึ่งมีทุนจดทะเบียนที่ชำระ
แล้วไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาท

4. ธุรกิจนั้นต้องยื่นงบการเงิน ณ วันสิ้นงวด
สองปีบัญชีที่ผ่านมา ที่ได้รับการตรวจรับรอง
ความถูกต้องจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหรือ
ผู้สอบบัญชีภาษีอากรแล้วแต่กรณีเพื่อแสดงว่า
ธุรกิจมีความมั่นคงเชื่อถือได้ มีการประกอบการจริง
และมีความต่อเนื่อง โดยพิจารณาจากแนวทางพิจารณา
สถานภาพธุรกิจว่ามีการประกอบการจริงและมีความ ต่อเนื่องแนบท้ายคำสั่งนี้ (ผนวก ข)

5. ธุรกิจนั้นมีความจำเป็นจะต้องว่าจ้าง
คนต่างด้าวทำงาน

6. ธุรกิจนั้นต้องมีอัตราส่วนระหว่างจำนวน
คนต่างด้าวกับพนักงานคนไทยประจำ ใน
อัตราส่วนคนต่างด้าว 1 คนต่อพนักงานคนไทย
ประจำ 4 คน

7. ธุรกิจประเภทดังต่อไปนี้ ให้ได้รับการ
ยกเว้นหลักเกณฑ์ตามข้อ (3) (4) และ (5)
และให้ได้รับการผ่อนผันในเรื่องอัตราส่วนคน
ไทยตามหลักเกณฑ์ข้อ (๖) โดยให้มีพนักงาน
คนไทยในอัตราส่วนคนต่างด้าว ๑ คน ต่อ
พนักงานคนไทยประจำ ๑ คน
(ก) ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
(สำนักงานผู้แทน)
(ข) สำนักงานภูมิภาค
(ค) บริษัทข้ามชาติ (สำนักงานสาขา)

เอกสารประกอบที่ต้องใช้
[pdf-embedder url=”https://www.immigration.go.th/wp-content/uploads/2023/11/เอกสาร-7-1.-รายการเอกสารประกอบการขออยู่ต่อฯ-ธุรกิจ.pdf” title=”เอกสาร 7-1. รายการเอกสารประกอบการขออยู่ต่อฯ ธุรกิจ”]
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากกระทรวง ทบวง กรมที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและร้องขอจากกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากหน่วยงาน หรือองค์กรนั้น ๆ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวข้อง
  5. หลักฐานแสดงความเป็นหน่วยงานของรัฐ (ถ้ามี)
หมายเหตุ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทนักท่องเที่ยว
  2. ไม่เป็นบุคคลสัญชาติ หรือจำ พวกที่ คณะกรรมการติดตามการปฏิบัติราชการ
    ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง ของ สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองกำหนด
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า , ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. รูปถ่าย ขนาด 4 x 6 ซม. (ที่ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน)
  4. ค่าธรรมเนียม 1,900 บาท
เอกสารเฉพาะกรณี

กรณีเจ็บป่วย

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หนังสือรับรองจากโรงพยาบาล โดยให้ปรากฏคำวินิจฉัยของแพทย์ดังนี้
    –  เจ็บป่วยเป็นโรค หรืออะไร
    –  เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางไกลหรือไม่ อย่างไร
    –  ต้องรักษาตัว หรือไม่สามารถเดินทางไกล นานเท่าใดแต่เมื่อใด เป็นต้นไป

กรณีดูแลผู้ป่วย

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หนังสือรับรองจากโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษาผู้ป่วย  โดยระบุความสัมพันธ์กับผู้ป่วย  หรือหนังสือรับรองความสัมพันธ์กับผู้ป่วยจากสถานทูต หรือสถานกงสุล

กรณีเพื่อเยี่ยมญาติหรือกลับภูมิลำเนาเดิมของผู้เคยมีสัญชาติไทยหรือของผู้ที่มีบิดาหรือมารดา  เป็นบุคคลสัญชาติไทยหรือเคยมีสัญชาติไทย

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หลักฐานแสดงว่าเดิมเคยมีสัญชาติไทย หรือแสดงว่าบิดา หรือมารดามีสัญชาติไทย หรือเคยมีสัญชาติไทย

กรณีเพื่อเยี่ยมคู่สมรส หรือเยี่ยมบุตรซึ่งมีสัญชาติไทย

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3.  
  4. หลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  5. (กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งทางนิตินัย และพฤตินัย)
    3.1 สำเนาทะเบียนบ้านของคู่สมรส หรือบุตร
    3.2 สำเนาบัตรประชาชนของบุคคลผู้มีสัญชาติไทย
    3.3 สำเนาทะเบียนสมรส หรือสำเนาสูติบัตรของบุตร

กรณีเพื่อการดำเนินคดี หรือดำเนินกระบวนพิจารณาอันเกี่ยวกับคดี

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หลักฐานยืนยันว่าเป็นผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดี โดยเป็นผู้กล่าวหา  ผู้เสียหาย  ผู้ต้องหา  โจทก์จำเลย  หรือพยาน

กรณีปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจให้แก่ส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือสถานฑูต  หรือสถานกงสุล  หรือองค์การระหว่างประเทศ

  1. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  3. หนังสือรับรองหรือร้องขอ จากส่วนราชการระดับกรม  หรือเทียบเท่า  หรือหัวหน้า
  4. รัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐ  หรือจากส่วนราชการตำรวจระดับกองบังคับการหรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือจากส่วนราชการทหารระดับผู้บังคับหน่วยในสังกัดกระทรวงกลาโหม  กองบัญชาการกองทัพไทย  กองทัพบก  กองทัพเรือ  กองทัพอากาศ  ซึ่งมีชั้นยศพลตรี  พลเรือตรี  พลอากาศตรีขึ้นไป ในส่วนที่เกี่ยวข้อง  หรือจากองค์การระหว่างประเทศกรณีมีเหตุจำเป็นโดยมีสถานฑูต หรือสถานกงสุล รับรองและร้องขอ
  5. แบบฟอร์ม ตม.7 (คนต่างด้าวต้องมายื่นคำร้องด้วยตนเอง)
  6. สำเนาหนังสือเดินทาง, วีซ่า, ตราประทับอนุญาตครั้งสุดท้าย
  7. หนังสือรับรอง  หรือร้องขอ จากสถานฑูต หรือสถานกงสุล
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองแล ะร้องขอจาก สถานศึกษานั้น
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและร้องขอให้อยู่ต่อจาก สถานศึกษานั้น โดยระบุตำแหน่ง อัตรา เงินเดือน และระยะเวลาการจ้าง
  5. สำเนาใบประกอบวิชาชีพครู หรือสำเนา หนังสือรับรองสิทธิจากคุรุสภา หรือสำเนา หนังสือผ่อนผันจากคุรุสภา หรือสำเนาหนังสือ รับคำขออนุญาตผ่อนผันจากคุรุสภา
    (ยกเว้นครู หรืออาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ ในระดับ อุดมศึกษา)
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. สถานศึกษานั้นได้รับอนุญาตให้ประกอบ กิจการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
  3. ได้รับการรับรองและร้องขอจากสถานศึกษานั้น
เอกสารประกอบที่ต้องใช้

กรณีโรงเรียนในระบบ ได้แก่ โรงเรียน สามัญศึกษา English Program โรงเรียน อาชีวศึกษาที่ใช้หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ และโรงเรียนนานาชาติ

  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. สำเนาหลักฐานการอนุญาตให้จัดตั้ง สถานศึกษาจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
  5. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก สถานศึกษานั้น โดยระบุตำแหน่ง อัตรา เงินเดือน และระยะเวลาการจ้าง และสำเนา หนังสือแต่งตั้งครูตามแบบที่ สช. กำหนด
  6. สำเนาใบประกอบวิชาชีพครู หรือสำเนา หนังสือรับรองสิทธิจากคุรุสภา หรือสำเนา หนังสือผ่อนผันจากคุรุสภา หรือสำเนาหนังสือ รับคำขออนุญาตผ่อนผันจากคุรุสภากรณีโรงเรียนนอกระบบ
    1. แบบคำขอ ตม.7
    2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
    3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
    4. สำเนาหลักฐานการอนุญาตให้จัดตั้ง สถานศึกษาจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
    5. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก สถานศึกษานั้น โดยระบุตำแหน่ง อัตรา เงินเดือน และระยะเวลาการจ้าง
    6. สำเนาหนังสือแต่งตั้งครู/ผู้สอน ตามแบบที่ สช.กำหนดกรณีสถาบันอุดมศึกษาของเอกชน
      1. แบบคำขอ ตม.7
      2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
      3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
      4. สำเนาหลักฐานการอนุญาตให้จัดตั้ง สถานศึกษาจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
      5. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก อธิการบดีของสถาบันการศึกษา โดยระบุ ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และระยะเวลาการจ้าง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองแล ะร้องขอจาก สถานศึกษานั้น
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก สถานศึกษานั้นโดยให้ปรากฏรายละเอียด เกี่ยวกับจำนวนปีการศึกษา ระดับหลักสูตร และผลการศึกษาของผู้ยื่นคำขอ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. หลักฐานรับรองการโอนเงินเข้ามาจากต่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 3 ล้านบาท โดยคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอต้องเป็นผู้สั่งโอนเงินจากต้นทางในต่างประเทศหรือเป็นผู้รับเงินปลายทางในประเทศ
    1. หลักฐานการนำเงินเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 3 ล้านบาทไปลงทุน หลังจากวันที่โอนเงินเข้ามาแล้ว
      กรณีใดกรณีหนึ่งหรือในหลายกรณีรวมกันดังต่อไปนี้
      • ฝากเงินประเภทฝากประจำกับธนาคารของรัฐ( ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ )
      • ซื้อพันธบัตร ซึ่งออกโดยส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจทั้งนี้ต้องซื้อจากส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ หรือซื้อจากตัวแทนที่ได้รับมอบหมายจากส่วนราชการหรือรัฐ วิสาหกิจนั้น
      • ซื้อห้องชุดในอาคารชุด จากเจ้าของโครงการตามราคาที่ได้จดทะเบียนกับส่วนราชการกรมที่ดิน
      • การลงทุนซึ่งสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อประเทศ
เงื่อนไขการอนุญาต

คนต่างด้าวต้องถือครองการลงทุนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา หากประสงค์จะเปลี่ยนช่องทางการลงทุนต้องมีหนังสือแจ้งขออนุญาตก่อน เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว จึงเปลี่ยนช่องทางการลงทุนได้ ทั้งนี้การเปลี่ยนช่องทางการลงทุนตามที่ได้รับอนุญาตต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่อง

หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากคณบดี สถาบันอุดมศึกษา หรือจากหัวหน้าสถาบันวิจัยนั้น ๆ
  3. กรณีฝึกสอน หรือค้นคว้าวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา หรือสถาบันวิจัยของเอกชน
    ต้องได้รับการรับรองและร้องขอจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากคณบดีสถาบันอุดมศึกษา หรือจากหัวหน้าสถาบันวิจัยนั้น ๆ
  4. เฉพาะกรณีตามหลักเกณฑ์ข้อ (3) ให้แนบ หนังสือรับรองและร้องขอให้อยู่ต่อจาก ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
กรณีเป็นครอบครัวของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ ชั่วคราวเพื่อศึกษาในสถานศึกษาตาม
หลักเกณฑ์ข้อ 2.8 หรือ 2.9 ของคำสั่งนี้ (เฉพาะบิดา มารดา คู่สมรส บุตร บุตรบุญ ธรรม หรือบุตรของคู่สมรส)
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งทาง นิตินัยและพฤตินัย หรือ
  4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของ คู่สมรสขออยู่ในอุปการะ บุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้นต้องยังไม่ได้สมรส และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้นและต้อง มีอายุไม่เกิน 20 ปีบริบูรณ์ หรือ
  5. กรณีบิดาหรือมารดา ต้องมีเงินฝากใน ธนาคารในประเทศไทยในนามบิดาหรือ มารดาคงอยู่ในบัญชีตลอดระยะเวลาย้อนหลัง
    3 เดือน ไม่น้อยกว่า 500,000 บาท เฉพาะใน ปีแรกให้แสดงบัญชีเงินฝาก โดยมีเงินจำนวน ดังกล่าว ฝากอยู่ในบัญชีมาแล้วไม่น้อยกว่า
    30 วัน ณ วันที่ยื่นขอตามเหตุผลนี้
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่เพื่อศึกษา
  4. สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น หลักฐานการสมรส สำเนาสูติบัตร หลักฐาน การจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียนบ้าน
    หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือ หลักฐานอื่น จากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากกรม ประชาสัมพันธ์ หรือกรมสารนิเทศ กระทรวง การต่างประเทศ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจาก กรมประชาสัมพันธ์ หรือกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองจากสำนักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ หรือสำ นักนายกรัฐมนตรี หรือ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย หรือมหามกุฎราช วิทยาลัย
  3. ได้รับการรับรองจากเจ้าอาวาสวัดที่ผู้ยื่น คำขอกำลังศึกษาหรือปฏิบัติศาสนกิจ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองจากสำนักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ หรือสำนักนายกรัฐมนตรี หรือ
    มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หรือมหามกุฏราช วิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาของสงฆ์อื่น ๆ
  4. หนังสือรับรองจากเจ้าอาวาสวัดที่ผู้ยื่นคำขอ กำลังศึกษาหรือปฏิบัติศาสนกิจ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองจากกรมการศาสนาหรือ สำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
  3. ได้รับการรับรองและร้องขอจากองค์กร ศาสนาที่ผู้ยื่นคำขอเข้ามาประจำอยู่
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองจากกรมการศาสนา หรือ สำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
  4. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร ศาสนานั้นๆ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองการจ้างจากโรงแรมหรือ จากบริษัทที่ประกอบธุรกิจบันเทิงในประเทศ ไทยซึ่งมีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่น้อยกว่า 20 ล้านบาท
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. สำเนาหนังสือสัญญาว่าจ้างผู้ยื่นคำขอทำงาน เป็นนักแสดง นักร้อง หรือนักดนตรี
  5. สำเนาหลักฐานการจดทะเบียนขององค์กร นั้น เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท
    หรือ การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนฉบับ นายทะเบียนรับรอง ไม่เกิน 6 เดือน
  6. เฉพาะกรณีบริษัทที่ประกอบธุรกิจบันเทิง ฯ ให้แนบสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นฉบับนาย ทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน
  7. สำเนาแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่มีชื่อคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอเดือนล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน
  8. สำเนาแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาของคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอปีล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน (ถ้ามี)
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งทาง นิตินัยและพฤตินัย หรือ
  4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรส ขออยู่ในความอุปการะบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้นต้องยังไม่ได้สมรส
    และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้น และต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ หรือ
  5. กรณีบิดาหรือมารดา บิดาหรือมารดา นั้นต้องมีรายได้เฉลี่ยทั้งปีไม่น้อยกว่าเดือนละ 40,000 บาท หรือต้องมีเงินฝากไม่น้อยกว่า
    400,000 บาท เพื่อไว้ใช้จ่ายในรอบ 1 ปี
  6. กรณีสมรสกับหญิงไทย ฝ่ายสามีซึ่งเป็น คนต่างด้าวต้องมีรายได้เฉลี่ยทั้งปีไม่น้อยกว่า เดือนละ 40,000 บาท หรือเงินฝากใน ธนาคารในประเทศไทยคงอยู่ในบัญชีตลอด
    ระยะเวลาย้อนหลัง 2 เดือน ไม่น้อยกว่า 400, 000 บาท เพื่อไว้ใช้จ่ายในรอบปี
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. กรณีอุปการะบุตรไทย/บุตรไทย
  2. กรณีภรรยาไทย
  3. กรณีสามีไทย
หมายเหตุ
1)  ผู้ยื่นคำขอและบุตร/ภรรยา/สามีผู้มีสัญชาติไทย ต้องมาติดต่อด้วยตนเอง เพื่อมาให้ปากคำ
2)  ให้นำหลักฐานเอกสารตัวจริงมาแสดง  และถ่ายเอกสารพร้อมรับรองสำเนาถูกต้องด้วยลายมือชื่อของผู้ยื่นคำขอ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้ง ทางนิตินัยและพฤตินัย หรือ
  4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของ คู่สมรสขออยู่ในความอุปการะบุตร
    บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้นต้อง ยังไม่ได้สมรส และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้น และต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ หรือ
  5. กรณีบิดาหรือมารดา บิดาหรือมารดานั้น ต้องมีอายุตั้งแต่ 50 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น
    หลักฐานการสมรส สำเนาสูติบัตร หลักฐาน การจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียน หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือ
    หลักฐานอื่นจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
  4. สำเนาใบสำคัญถิ่นที่อยู่ และสำเนาใบ สำคัญประจำตัวคนต่างด้าวของผู้มีถิ่นที่อยู่
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้ง ทางนิตินัยและพฤตินัย หรือ
  4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของ คู่สมรสขออยู่ในความ อุปการะ บุตร
    บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้น ต้องยังไม่ได้สมรส และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้น
    และต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ หรือ
  5. กรณีบิดาหรือมารดา บิดาหรือมารดา นั้นต้องมีอายุตั้งแต่ 50 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรฯ
  4. สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น
    หลักฐานการสมรส สำเนาสูติบัตร หลักฐาน การจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียนบ้าน หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือ
    หลักฐานอื่นจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
  2. ได้รับการรับรองและร้องขอจากผู้มีอำนาจ หรือผู้ดำรงตำแหน่งสูงสุดในองค์กรนั้น และ / หรือ
  3. ได้รับการรับรองและร้องขอจากหัวหน้า ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าขึ้นไป
    หรือ หัวหน้ารัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้า หน่วยงานอื่นของรัฐซึ่งเกี่ยวข้องกับองค์กรนั้น
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. สำเนาใบอนุญาตให้จัดตั้งองค์กรจากทาง ราชการ หรือสำเนาใบอนุญาตให้เข้ามา ดำเนินการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
  5. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กรนั้น
  6. บัญชีรายชื่อคนต่างด้าวที่ทำงานในองค์กร
  7. เฉพาะกรณีตามหลักเกณฑ์ข้อ(3) ให้แนบหนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากหัวหน้า ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าขึ้นไป
    หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐซึ่งเกี่ยวข้องกับองค์กรนั้น
หลักเกณฑ์การพิจารณา
มีหลักฐานแสดงว่าเดิมเคยมีสัญชาติไทย หรือแสดงว่าบิดา หรือมารดามีสัญชาติไทย หรือเคยมีสัญชาติไทย
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาเอกสารแสดงว่าเดิมเคยมีสัญชาติไทย
    หรือแสดงว่าบิดา หรือมารดา มีสัญชาติไทย หรือเคยมีสัญชาติไทย
    (กรณีหลักฐานแสดงการมีสัญชาติไทยมีข้อมูล ไม่ตรงกับหนังสือเดินทางให้ใช้หนังสือรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุล หรือหลักฐาน เอกสารที่ยืนยันว่าเป็นบุคคลเดียวกัน เช่น บันทึกสอบปากคำของบุคคลที่น่าเชื่อถือ )
[pdf-embedder url=”https://www.immigration.go.th/wp-content/uploads/2023/11/เอกสาร-7-6.-NON-O-รายการเอกสารขออยู่ต่อใช้ชีวิตบั้นปลาย-TH-EN.pdf” title=”เอกสาร 7-6. NON-O รายการเอกสารขออยู่ต่อใช้ชีวิตบั้นปลาย TH EN”]
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
  2. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้ง ทางนิตินัยและพฤตินัย
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาทะเบียนบ้าน
  4. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มี สัญชาติไทย
  5. สำเนาทะเบียนสมรส หรือสำเนาสูติบัตร
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองและร้องขอจากแพทย์ประจำโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษา โดยให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับอาการป่วย ระยะเวลาในการรักษา และความเห็นของแพทย์ผู้รักษาว่า อาการป่วยนั้นเป็นอุปสรรค ต่อการเดินทาง
  2. กรณีดูแลผู้ป่วยต้องได้รับการรับรอง และร้องขอจากแพทย์ประจำโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษา หรือจากสถานทูต หรือ สถานกงสุล
  3. ผู้ดูแลผู้ป่วย นอกจากบิดามารดา คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสแล้ว ให้อนุญาตได้อีกไม่เกิน 1 คน
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากแพทย์ ประจำโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษา
  4. เฉพาะกรณีดูแลผู้ป่วยให้แนบหนังสือรับรอง และขอให้อยู่ต่อจากแพทย์ประจำโรงพยาบาลที่ทำการตรวจรักษา และเอกสารแสดง ความสัมพันธ์ (กรณีผู้ดูแลซึ่งเป็นส่วนแห่ง ครัวเรือน) เช่น หลักฐานการสมรส สำเนา สูติบัตร หลักฐานการจดทะเบียนรับรองบุตร หรือหนังสือรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุล
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดี หรือดำเนินกระบวนพิจารณา
    อันเกี่ยวกับคดี โดยเป็นผู้กล่าวหา ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา โจทก์จำเลย หรือพยาน
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองจากพนักงานสอบสวนที่เกี่ยวข้องกับคดีหรือหนังสือหรือเอกสารทางราชการที่ยืนยันว่าเป็นผู้เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินคดี หรือดำเนินกระบวนพิจารณาอันเกี่ยวกับคดี
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองและร้องขอจากส่วน ราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือจากส่วนราชการตำรวจระดับกองบังคับการหรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือจากส่วน ราชการทหารระดับผู้บังคับหน่วยในสังกัดกระทรวงกลาโหมกองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ ซึ่งมีชั้นยศพลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี ขึ้นไปในส่วนที่เกี่ยวข้อง หรือจากองค์การระหว่างประเทศ
  2. กรณีมีเหตุผลความจำเป็นเฉพาะรายต้อง อยู่เกินกำหนด 90 วัน ให้เสนอ ผบช. สตม. หรือ รอง ผบช.สตม.ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้พิจารณา
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากส่วน ราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐที่ เกี่ยวข้อง หรือจากส่วนราชการตำรวจระดับกองบังคับการ หรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือจากส่วนราชการทหารระดับผู้บังคับหน่วยในสังกัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ ซึ่งมีชั้นยศ พลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี ขึ้นไป ในส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง หรือจากองค์การระหว่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองและร้องขอจากสถานทูต หรือสถานกงสุล
  2. กรณีฝึกงานคนต่างด้าวนั้นต้องได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากสถานทูต หรือสถานกงสุลประจำประเทศไทย
  4. เฉพาะกรณีฝึกงาน ให้แนบสำเนาใบอนุญาตทำงาน
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ได้รับการรับรองและร้องขอจากภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. ให้พิจารณาจากเหตุผลความจำเป็นที่ไม่สามารถเดินทางออกได้
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
  3. หนังสือรับรองและขอให้อยู่ต่อจากองค์กร หรือหน่วยงานราชการหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 ( ค่าธรรมเนียม 1,900 บาท)
  2. แบบฟอร์ม ตม.8 ( ค่าธรรมเนียม S= 1,000 บาท, M=3,800 บาท )
  3. รูปถ่าย ขนาด 4 x 6 ซม. ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 2 รูป
  4. หนังสือรับรองจาก B.O.I. , การนิคมอุตสาหกรรม , กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ
  5. สำเนาหนังสือเดินทาง พร้อมหนังสือเดินทางฉบับจริง
    -ใช้หน้าที่มีรูปถ่าย
    – หน้าวีซ่า Non ครั้งแรก
    – การเดินทางครั้งแรกของ Non
    – หน้าวีซ่า ที่ได้รับการอนุญาตครั้งสุดท้าย
    – หน้า Re-Entry สุดท้าย
    – หน้าการเดินทางเข้าประเทศครั้งสุดท้าย
    – บัตร ตม.6
  6. แบบฟอร์ม สตม.2 ( การรับทราบเงื่อนไขการอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร )
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
  3. หนังสือชี้แจงตำแหน่งของคนต่างด้าวที่ปฏิบัติงานในบริษัท โดยให้ระบุ
    – ลักษณะธุรกิจ
    – เหตุผลความจำเป็นในการจ้าง ระบุตำแหน่ง อัตราเงินเดือน คุณวุฒิ
    – จำนวนพนักงานคนไทยและคนต่างด้าวที่มาปฏิบัติงานในบริษัท
  4. ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ และหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจ
  5. หลักฐานการนำเงินเข้ามาในราชอาณาจักรตามเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบธุรกิจ
  6. หนังสือแต่งตั้งจากสำนักงานใหญ่ ( Power of Attorney )
  7. รายการภาษีเงินได้ของคนต่างด้าวและพนักงานคนไทย (ภ.ง.ด.1 ) เดือนล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน
  8. รายการภาษีเงินได้ของคนต่างด้าว ( ภ.ง.ด.91 ) ปีล่าสุด พร้อมใบเสร็จรับเงิน
  9. สำเนาแบบรายการแสดงการส่งเสริมเงินสบทบตามที่ได้ยื่นไว่ต่อสำนักงานประกันสังคม ( สปส.1-10 ) เดือนล่าสุด
  10. แผนที่แสดงที่ตั้งของสำนักงาน
  11. กรณีมีครอบครัวติดตามมาอยู่ด้วย ให้แสดงหลักฐานความเป็นครอบครัว เช่น ใบทะเบียนสมรส ใบสูติบัตร หรือหนังสือรับรองจากสถานทูต
  12. หนังสือรับทราบเงื่อนไขการอนุญาตให้อยู่ต่อในองค์กร
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป
  2. แบบฟอร์ม ตม.8 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป
  3. สำเนาหนังสือเดินทาง และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
  4. หนังสือรับรองจากกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องระดับกรม หรือ เทียบเท่า
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นขออยู่ต่อ
  3. สำเนาหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร
  4. สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น หลักฐานการจดทะเบียนสมรส สำเนาสูติบัตรหลักฐานการจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียนบ้าน หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือหลักฐานอื่นจากส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบฟอร์ม ตม.7 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป (ผู้ขอ,ผู้ติดตามตามลำดับ (ถ้ามี) )
  2. แบบฟอร์ม ตม.8 พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป (ผู้ขอ,ผู้ติดตามตามลำดับ (ถ้ามี) )
  3. สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นขออยู่ต่อ
  4. สำเนาใบอนุญาตทำงาน
  5. บัญชีรายชื่อคนต่างด้าวทุกคนในบริษัท
  6. แผนภูมิแสดงตำแหน่งงาน
  7. หนังสือรับรองคนต่างด้าวเข้าทำงานตามแบบคำขอของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง(สตม.1)/หนังสือชี้แจงต่าง ๆ/ประกาศรับสมัครพนักงานคนไทย
  8. สำเนางบดุล และงบกำไรขาดทุน ปีล่าสุด (พร้อมฉบับจริง)
  9. สำเนาแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด.1) ที่มีชื่อพนักงานคนไทย และชื่อคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอและสำเนาใบเสร็จรับเงินเดือนล่าสุด พร้อมแสดงใบเสร็จรับเงินฉบับจริง
  10. สำเนาแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ส่วนบุคคลธรรมดาของคนต่างด้าวผู้ยื่นคำขอ (ภ.ง.ด.91) และสำเนาใบเสร็จรับเงิน  พร้อมแสดงใบเสร็จรับเงินฉบับจริง
  11. สำเนาแบบรายการแสดงการส่งเสริมเงินสบทบตามที่ได้ยื่นไว้ต่อสำนักงานประกันสังคม ( สปส.1-10 ) และสำเนาใบเสร็จรับเงิน เดือนล่าสุด พร้อมแสดงใบเสร็จรับเงินฉบับจริง
  12. หลักฐานการจดทะเบียนขององค์กรนั้น เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท (ฉบับจริง) หรือ การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนฉบับนายทะเบียน (ฉบับจริง) รับรองไม่เกิน 6 เดือน
  13. บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นฉบับนายทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน (บอจ.5) (ฉบับจริง)
  14. กรณีมีครอบครัวติดตามมาอยู่ด้วย ให้แสดงหลักฐานความเป็นครอบครัว เช่น ใบทะเบียนสมรส ใบสูติบัตร หรือหนังสือรับรองจากสถานทูต (ฉบับจริง)
  15. แผนที่แสดงสถานที่ทำงานของผู้ยื่นคำขอ
  16. รูปถ่ายของบริษัทฯ ภายในบริษัทฯ ในรูปถ่ายต้องมีพนักงานนั่งปฏิบัติงาน จำนวน 4 รูป และภายนอกบริษัทฯ ต้องมีป้ายชื่อบริษัทฯ และสถานที่ตั้ง ของบริษัทฯ จำนวน 2 รูป
  17. เอกสารหรือหลักฐานอื่น ตามที่คณะกรรมการติดตามการปฏิบัติราชการของพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง ของ สตม.กำหนด (แบบ สตม.2)
หมายเหตุ
ติดต่อที กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 เลขที่ 319 ถ.พญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-220901100 ต่อ 1016
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นพนักงานฝ่ายกงสุลหรือลูกจ้างฝ่ายกงสุล ซึ่งรัฐบาลต่างประเทศส่งเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในราชอาณาจักร หรือซึ่งเดินทางผ่านราชอาณาจักร เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ในประเทศอื่น และ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้นได้ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผขออยู่ต่อ
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นพนักงานฝ่ายกงสุลหรือลูกจ้างฝ่ายกงสุล ซึ่งรัฐบาลต่างประเทศส่งเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในราชอาณาจักร หรือซึ่งเดินทางผ่านราชอาณาจักร เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ในประเทศอื่น และ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้นได้ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทางของผขออยู่ต่อ
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นบุคคลซึ่งรัฐบาลต่างประเทศโดยความเห็นชอบของรัฐบาลไทย ให้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร และ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทืางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจาก หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ได้ทำความตกลงที่รัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือดเทียบเท่า
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจในราชอาณาจักรเพื่อรัฐบาลไทย ตามความตกลงที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ และ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทืางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจากหรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้ รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ได้ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือดเทียบเท่า
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
  4. บันทึกความตกลงที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นหัวหน้าสำนักงานขององคืการ หรือทบวงการระหว่างประเทศที่มีกฎหมายคุ้มครองการดำเนินงานในประเทศไทย หรือซึ่งรัฐบาลไทยได้ให้ความเห็นชอบด้วยแล้ว หรือเป็นพนักงานหรือผู้เชี่ขวชาญหรือบุคคลหรือซึ่งองค์การ หรือ ทบวงการตามวรรคแรก แต่งตั้งหรือมอบหมายให้ปฎิบัติหน้าที่ หรือภารกิจในราชอาณาจักร เพื่อองค์การ หรือทบวงการดังกล่าว หรือเพื่อรัฐบาลไทยตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ทำไว้กบองค์การ หรือทบวงการระหว่างประเทศนั้น
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจากหรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ได้ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือดเทียบเท่า
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นหัวหน้าสำนักงานขององคืการ หรือทบวงการระหว่างประเทศที่มีกฎหมายคุ้มครองการดำเนินงานในประเทศไทย ครัวเรือนของบุคคในคณะผู้แทนทางทูต, พนักงานหรือลูกจ้างฝ่ายกงสุล, บุคคลซึ่งรัฐบาลต่างประเทศโดยความเห็นชอบของรัฐบาลไทยให้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร,บุคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร ตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ, หัวหน้าสำนักงานหรือพนักงาน หรือผู้เชี่ยวชาญ หรือบุคคลอื่น ซึ่งได้รับแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจในราชอาณาจักร ตามความตกลงที่รัฐบาลไทยได้ทำไว้กับองค์การ หรือทบวงการระหว่างประเทศ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทืางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และ ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจากหรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
หลักเกณฑ์การพิจารณา
  1. เป็นคนรับใช้ส่วตัวซึ่งเดินทืางจากต่างประเทศ เพื่อมาทำงานประจำเป็นปกติ ณ ที่พักอาศัยบองบุคคลในคณะผู้แทนทางทูต หรือ ณ ที่พักอาศัยของบุคคลซึ่งได้รับเอกสิทธิเท่าเทียมกันกับบุคคลซึ่งมีตำแหน่งทางทูตตามความตกลงที่รัฐบาลไทยไดทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ หรือกับองค์การ หรือทบวงการระหว่างประเทศ
  2. ถือหนังสือเดินทางทูต (DIPLOMATIC PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางราชการ (OFFICIAL / SERVICE / SPECIAL PASSPORT) หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติ (UNITED NATIONS LAISSEZ-PASSER หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ(NON-IMMIGRANT VISA category F) หรือถือหนังสือเดินทืางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) และ ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการต่างๆ นอกจาก หรือถือหนังสือเดินทางธรรมดา (ORDINARY PASSPORT) ที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ยกเว้นการตรวจลงตรา ตามที่รัฐบาลของประเทศนั้น ทำความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
  3. ได้รับการรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
  1. แบบคำขอ ตม.7
  2. สำเนาหนังสือเดินทาง
  3. หนังสือรับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ หรือจากส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
หลักเกณฑ์การพิจารณา

1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว
2. คนต่างด้าวมีรายได้ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 40,000 บาท ต่อเดือน
3. ได้รับการรับรองและร้องขอจากหัวหน้าองค์กรนั้น
4. ได้รับการรับรองจากการกีฬาแห่งประเทศไทย
5. กรณีบริษัท ต้องเป็นธุรกิจซึ่งมีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาท

เอกสารประกอบที่ต้องใช้